กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7327
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorภาวิณี ศักดิ์สุนทรศิริ
dc.contributor.authorคุนัญญา ทัดเทียมพร
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:45:50Z
dc.date.available2023-05-12T03:45:50Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7327
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น จากการเลือกใช้วิธีการเพื่อประเมินปริมาณปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากทั้งวัฏจักรชีวิตในรูปแบบของคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ข้าวหลามหนองมนจาก 3 วิธีการเผา คือ การเผาข้าวหลามแบบลาน การเผาข้าวหลาม ในเตาเผาโดยใช้ก๊าซ LPG และการเผาข้าวหลามในเตาเผาข้าวหลามชีวมวลโดยทำการประเมิน กระบวนการหลักด้วยการวิเคราะห์เส้นทางกระบวนการ (PCA) แล้วนำข้อมูลที่ได้มาประเมินด้วย ฐานขอ้มูลที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบ คือ 1) บัญชีฐานข้อมูล Inventory data ของประเทศไทย (PCATGO)2) วิธีวิเคราะห์แบบ Input-Output Analysis (Combined PCA-IOA) และ 3) การประเมินด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SimaPro วิธีการประเมิน IPCC 2007 GWP 100a ซึ่งผลที่ได้จะอยู่ในหน่วยของกิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อผลิตภัณฑ์ปริมาณข้าวเหนียว 10 ลิตร (kgCO2eq/ ปริมาณข้าวเหนียว 10 ลิตร) ผลการประเมินพบว่า ปริมาณ CFP ของข้าวหลามหนองมน ด้วยการเผาข้าวหลามในเตาเผาก๊าซ LPG โดยใช้การประเมินแบบ PCA-TGO มีค่ามากที่สุดเท่ากับ 184.88 kgCO2eq/ปริมาณข้าวเหนียว 10 ลิตรและปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของข้าวหลามหนองมน ด้วยการเผาข้าวหลามในเตาเผาข้าวหลามชีวมวลโดยใช้การประเมินแบบ SimaPro วิธีการประเมิน IPCC 2007 GWP 100a มีค่าเท่ากับ 38.32 kgCO2eq/ ปริมาณข้าวเหนียว 10 ลิตร ซึ่งมีค่าน้อยที่สุด โดยสิ่งที่ทำให้ปริมาณคาร์บอนฟุตพริ้นท์ค่าที่แตกต่างกันมาจากแหล่งที่มาของฐานข้อ มูลที่มีความแตกต่างกัน ดังนั้นการประยุกต์ใช้ฐานข้อมูลจากรูปแบบการประเมินต่าง ๆ ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความถูกต้องและแม่นยำของผลการประเมิน อาจเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่เหมาะสำหรับการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์มากกว่าการนำข้อมูลจากฐานข้อมูลของรูปแบบการประเมินใด ประเมินหนึ่งมาใช้ในการประเมิน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectข้าวหลาม -- หนองมน (ชลบุรี)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.subjectคาร์บอนฟุตพริ้นท์ -- การประเมิน
dc.subjectวัฏจักรคาร์บอน
dc.titleการศึกษาวิธีการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ที่เหมาะสมสำหรับกรณีศึกษาข้าวหลามหนองมน
dc.title.alternativeA study on the methods to ssess the crbon footprint ppropritely for the cse study of Nong-mon sticky rice in bmboo
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis study has the objectives in studying the occurring problems and obstacles from selecting the method to assess the amount of greenhouse gas emission from the life cycle analysis in terms of Carbon Footprint for the products of Nong-Mon sticky rice in bamboo from 3 different baking methods; sticky rice in bamboo produced by land baking, sticky rice in bamboo produced from LPG oven and sticky rice in bamboo produced from the biomass oven. The assessment is done on the main processes by using the principal component analysis (PCA) and assessing the data with the database differently in 3 forms; 1) Inventory data of Thailand (PCA-TGO), 2) Input-Output Analysis (Combined PCA-IOA), and 3) assessment with ready-made computer program SimaPro. The assessment method of IPCC 2007 GWP 100a gives the result in the unit of kilogram carbon dioxide equivalent per unit of glutinous rice of 10 liters (kgCO2 eq/ glutinous rice of 10 liters). The assessment results reveal that the amount of Carbon Footprintof sticky rice in bamboo produced from LPG oven using the assessment ofPCA-TGO gives the highest value of 184.88 kgCO2 eq/ glutinous rice of 10 liters and the amount of Carbon Footprint sticky rice in bamboo produced from the biomass oven using the assessment of SimaPro, assessment method of IPCC 2007 GWP 100a equaling 38.32 kgCO2 eq/ glutinous rice of 10 liters which is the least value. The thing causing the Carbon Footprintvalue to be different is from the different sources of data base. Therefore, the application of database from different assessment is done altogether to create the correctness and the accuracy of assessment. This is possibly the choice suitably for the assessment of Carbon Footprintof the products rather than applying the data from the database of assessment method to be used in the assessment.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.68 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น