กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7112
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorดวงพร ธรรมะ
dc.contributor.advisorพงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ
dc.contributor.authorนงลักษณ์ รักพงษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:33:25Z
dc.date.available2023-05-12T03:33:25Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7112
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อ 1) พัฒนาหุ่นมือประกอบกิจกรรมการเล่านิทานเพื่อเตรียมความพร้อม 2) เปรียบเทียบระดับความสามารถทางด้านการฟังและการพูดของนักเรียนระดับปฐมวัยก่อนและหลังการใช้หุ่นมือประกอบกิจกรรมการเล่านิทาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนเซนต์โยเซฟระยอง ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi stage random sampling) โดยการจับสลากนักเรียนชั้นอนุบาล 3 จาก 3 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 10 คน ได้จำนวน 30 คน ผู้วิจัยเป็นผู้ดำเนินการทดลองด้วยตนเอง เป็นเวลา 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 เรื่อง วันละ 30 นาที รวม 3 วันต่อสัปดาห์ รวมทั้งสิ้น 30 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แผนการจัดกิจกรรมเล่านิทาน หุ่นมือ นิทานอีสป แบบทดสอบความพร้อมด้านการฟังและการพูด แบบบันทึกคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/ E2 และ t-test of dependent samples ผลการวิจัยมีดังนี้ 1) หุ่นมือประกอบกิจกรรมการเล่านิทานมีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.15/ 89.80 แสดงว่า เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ และ 2) ความพร้อมด้านการฟังและการพูดของนักเรียนระดับปฐมวัยหลังการใช้หุ่นมือประกอบกิจกรรมการเล่านิทานสูงกว่าก่อนการใช้กิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectความพร้อมทางการเรียน
dc.subjectหุ่นมือ -- กิจกรรมการเรียนการสอน
dc.subjectความพร้อมในการอ่าน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
dc.subjectนักเรียนอนุบาล
dc.titleการพัฒนาหุ่นมือและกิจกรรมเพื่อสร้างความพร้อมด้านการฟังและการพูดของนักเรียนระดับปฐมวัย
dc.title.alternativeDevelopment of puppets nd ctivities to enhnce listening nd speking rediness of Preschool Students
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to; 1) develop puppets for storytelling activities for readiness prepare, and 2) compare skill level of listening and speaks of preschool students, before and after using the puppet engage in storytelling activities. Samples used in the study were 30 preschool boys and girls with 5-6 years of age of kindergarten 3 in second semester of 2016 academic year at St. Joseph’s Rayong, school. Multi Stage Random Sampling was used for sample selection by drawing lots of kindergarten students from 3 classrooms, 10 students per class. The researcher conducted self-study for 10 weeks, 3 times a week, totaling 30 times a week. The instruments used in a study were the lesson plans of storytelling activities using the puppet, and Esop Readiness test scoring record. The data were analyzed by using E1/ E2 performance and dependent sample t-test. The results were as follows. 1) The efficiency of hand puppets for story telling activities was at 80.15/ 89.80, 2) the readiness scores on listening and speaks of the preschool students after using the puppets in storytelling activities were higher than that pretest with the statistical significance at .05 level.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.95 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น