กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7088
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พงศ์เทพ จิระโร | |
dc.contributor.advisor | มนตรี แย้มกสิกร | |
dc.contributor.author | มยุรี ฐานมั่น | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:33:21Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:33:21Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7088 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพการประกันคุณภาพการศึกษานักศึกษาวิชาทหารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน เพื่อพัฒนามาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษานักศึกษาวิชาทหารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษานักศึกษา วิชาทหารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน และเพื่อทดลองใช้และประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษานักศึกษาวิชาทหาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บังคับหน่วยฝึกนักศึกษา วิชาทหาร ครูฝึกนักศึกษาวิชาทหาร และผู้กำกับนักศึกษาวิชาทหารจากศูนย์การกำลังสำรอง กองทัพภาค 1 กองทัพภาค 2 กองทัพภาค 3 และกองทัพภาค 4 ในปีการศึกษา 2559 จำนวน กลุ่มตัวอย่าง 384 คน ตรวจสอบคุณภาพระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 17 ท่าน ด้วยเทคนิคเดลฟายประยุกต์สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัย พบว่า ระบบการประกันคุณภาพการศึกษานักศึกษาวิชาทหารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ที่สร้างและพัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 16 ตัวบ่งชี้ และ 88 เกณฑ์การพิจารณาค่าความเหมาะสมของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อระบบและกลไก การประกันคุณภาพ องค์ประกอบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา ทั้งหมด 117 ข้อ อยู่ในระดับสูงมาก 6 ข้อ ระดับสูง 110 ข้อ และมีค่าความสอดคล้องทุกข้อ ค่าความคิดเห็นของผู้ประเมินเกี่ยวกับแนวความคิดหลัก ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ทั้งหมด 7 ข้อ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อ ค่าความถูกต้องและความเหมาะสมของความคิดเห็นของผู้ประเมินเกี่ยวกับองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา รวม 110 ข้อ อยู่ในระดับมาก 2 ข้อ ระดับมากที่สุด 108 ข้อ ค่าประโยชน์และความเป็นไปได้ของความคิดของผู้ประเมินเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การพิจารณา รวม 110 ข้อ อยู่ในระดับมากที่สุดทุกข้อ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การศึกษาวิชาทหาร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา | |
dc.subject | การมีส่วนร่วมทางการศึกษา | |
dc.subject | ประกันคุณภาพการศึกษา | |
dc.title | การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษานักศึกษาวิชาทหารหน่วยบัญชาการรักษาดินแดนโดยใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | |
dc.title.alternative | The development of qulity ssurnce systems for militry students territoril defend commnd with prticiptory ction reserch | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were; 1. to study the conditions of the quality assurance systems for military students in the territorial defense command, 2. to develop standards and indicators of military students education in the territorial defense command, 3. to develop the mechanisms for quality assurance of education for military students in the territorial defense command, and 4 to try out and evaluate the quality assurance system of the military student education in the territorial defense command. The sample consisted of heads of military students training units, trainers, and mentoring teachers of military students from the Centers of Army Reserve in the First Army Area 1, the Second Army Area, the Third Army Area, and the Fourth Army Area. The research was conducted in the Academic Year 2016. The total sample was 384. Seventeen experts have verified the quality assurance system by using the Delphi technique. The statistical analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, median, and quartile range. The research results showed that the developed quality assurance system for military student education in the territorial defense command consisted of six components, 16 indicators, and 88 consideration criteria. The experts’ opinion towards the system and mechanisms for quality assurance, components, indicators, and consideration criteria, among the total of 117 items, was that six items were at the highest, 110 were at high. All items had congruency values. The level of opinion of experts related to core concepts, system and mechanism of the quality assurance were at the highest in all seven items. The level of accuracy and appropriateness of experts’ opinion related to components, indicators, and consideration criteria, totaling 110 items, was that two items were at high level and 108 items were at highest level. The expert opinion towards the benefit and the possibility related to components, indicators, and consideration criteria, totaling 110 items, were all in the highest level. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 5.18 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น