กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7040
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสถาพร พฤฑฒิกุล
dc.contributor.advisorภารดี อนันต์นาวี
dc.contributor.authorบังอร ลำภา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:29:37Z
dc.date.available2023-05-12T03:29:37Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/7040
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำแนกตาม วุฒิการศึกษา วิทยฐานะ และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ เกี่ยวกับปัญหาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน และข้อเสนอแนะในการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียน มีค่าอำนาจจำแนกรายข้ออยู่ระหว่าง .55 ถึง .90 และได้ค่าเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ความถี่ การหาค่าเฉลี่ย (x ̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การทดสอบค่าที (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และทดสอบรายคู่ตามวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัญหาการทำวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จำแนกตามวุฒิการศึกษา และขนาดโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกตามวิทยฐานะ โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. แนวทางการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1 จัดทำข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ควรมีการจัดอบรมอย่างจริงจังอย่างเป็นรูปธรรม ผู้วิจัยจัดทำปฏิทินปฏิบัติงานกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในแต่ละขั้นตอนไว้ และครูผู้สอนเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการในการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectครู -- การศึกษาและการสอน -- วิจัย
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectการศึกษา -- วิธีวิทยา
dc.subjectการแก้ปัญหา
dc.subjectการจัดการชั้นเรียน
dc.titleปัญหาและแนวทางการพัฒนาการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การสึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1
dc.title.alternativeProblems nd guided to clssroom reserch development of techers under chonburi primry eductionl service re office 1
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research were to investigate the problems and guideline for classroom research development of teachers under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1, classified by educational level, academic position and school size. The samples were 304 teachers under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1, academic year 2016. The research instrument was a 5 level rating scale questionnaire. On problems of classroom research and suggestions of classroom research development. It had discriminatory power between 0.55-0.90, the reliability was 0.97. Data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test and one-way ANOVA and comparison by scheffe's method. The findings were as follows. 1. Problems and guideline for classroom research development of teachers under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1, was at moderate level. 2. Problems and guideline for classroom research development of teachers under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1, classified by educational level and school size, were significant different at .05 level. When classified by academic position there was no statistically significant difference. 3. Guideline for classroom research development of teachers under Chonburi Primary Educational Service Area Office 1 were: Providing individual student information, studying related documents, providing concrete training, preparing a working calendar that defines the duration of each step, and providing a workshop on how to write a classroom research report.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.34 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น