กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6991
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสฎายุ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.authorเกศินี ศรีสุข
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:27:09Z
dc.date.available2023-05-12T03:27:09Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6991
dc.descriptionงานนิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการของผู้ปกครองต่อการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ของโรงเรียนวัดสุวรรณารัญญิกาวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2 แนวทางการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครอง และประเมินความเหมาะสมเป็นไปได้ของแนวทางการจัดกิจกรรม การรวบรวมข้อมูลแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ การสัมภาษณ์ผู้ปกครอง จำนวน 10 คน การสนทนากลุ่มเพื่อหาแนวทางการจัดกิจกรรมกับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวน 10 คน เพื่อหาความเหมาะสม เป็นไปได้ของแนวทางการจัดกิจกรรม ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการของผู้ปกครองต่อการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ผู้ปกครองต้องการให้จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะคอมพิวเตอร์ ทักษะการคิดคล่อง ทักษะการอ่าน การเขียนภาษาไทย และภาษาอังกฤษ การเข้าค่ายคุณธรรม การทัศนศึกษาในแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์การสอนทำอาหาร ธนาคารนักเรียน และการจัดกิจกรรมกีฬาที่หลากหลาย 2. แนวทางการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญ คือ พัฒนา ห้องโสตทัศนอุปกรณ์ การท่องสูตรคูณ การทำแผนการสอนส่งเสริมค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ การทำทะเบียนแหล่งเรียนรู้ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมามีส่วนร่วมในกิจกรรม การเพิ่มช่องทางจำหน่าย ผลิตภัณฑ์นักเรียน และทำโครงการจัดซื้ออุปกรณ์การฝึกซ้อมกีฬา 3. การประเมินความเหมาะสมเป็นไปได้ของการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเห็นว่าแนวทางที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญมีความเป็นไปได้ในการจัด กิจกรรม โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม โดยระดมทุนและ ของบสนับสนุนจากองค์กรเอกชน ให้นักเรียนที่เข้าค่ายธรรมะเป็นผู้นำในการนั่งสมาธิ สวดมนต์ การฝึกมารยาทไทย และการประเมินผลของสุขภาพนักเรียนหลังการดำเนินกิจกรรมด้านพลศึกษา
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectโรงเรียนวัดสุวรรณารัญญิกาวาส -- การบริหาร
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- การบริหาร
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอน
dc.titleการศึกษาความต้องการของผู้ปกครองต่อการจัดกิจกรรม "ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้" ของโรงเรียนวัดสุวรรณารัญญิกาวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 2
dc.title.alternativeA study of prent’s needs in “moderte clss-more knowledge” ctivities of Wdsuwnnrnyikws School under Chonburi Primry Eduction Service Are Office 2
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the parent’s needs in “Moderate Class-More Knowledge” activities of Wadsuwannaranyikawas School under Chonburi Primary Education Service Area Office 2, 2) to find out guidelines for activities, and 3) to evaluate the appropriateness and possibility of the activities. The participants were 3 groups: 10 parents were interviewed to provide, 12 experts were in a focus group to find the guidelines for activities, and 10 school committee members were interviewed to evaluate the appropriateness and possibility of the activities. The research findings were as follows: 1. The parents expressed their needs in “Moderate Class-More Knowledge” activities for students to have computer skills, fluency thinking, reading and writing skills in Thai and English languages, Moral Training Project, Historical Field Trip, Cooking, Student Bank Project and providing a variety of sports activities. 2. The experts suggested the activities guidelines that the audiovisual room should be developed, provided the activities which supporting Math skills with Multiplication table chants, Teachers should be applied the 12 core values of Thai people in the lesson plans, making the information of learning resources and opening opportunities for local resourceful persons to participate in transferring the wisdom to youth. Student Product Selling Center. Making a plan for sports and exercises club to provide new facilities to meet demand of students. 3. The possibility guidelines for “Moderate Class-More Knowledge” activities were proposed to solve problem concerning insufficient computers for students to use. The committee viewed that the computers should be supported and provided by private organization. A group of student leaders should be lead in meditation exercises, chant and Thailand etiquette. Teachers should be evaluated student health and physical fitness test.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารการศึกษา
dc.degree.nameการศึกษามหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.93 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น