กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6943
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorไพรัตน์ วงษ์นาม
dc.contributor.advisorสุรีพร อนุศาสนนันท์
dc.contributor.authorณัฐพร ภักดี
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:25:12Z
dc.date.available2023-05-12T03:25:12Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6943
dc.descriptionดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถามในแบบวัดพหุมิติที่ให้คะแนนหลายค่า ด้วยวิธีโพลีโตมัสซิปเทสท์ วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันกลุ่มพหุ และวิธีการทดสอบวอลด์ จากอัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 และอำนาจการทดสอบ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลจำลองโดยจำลองภายใต้โมเดลเกรดเรสพอน พหุมิติ ซึ่งแต่ละข้อคำถามจะมีรายการตอบ 5 รายการ โดยให้คะแนนเป็น 1, 2, 3, 4 หรือ 5 คะแนน ข้อมูลดังกล่าวจำลองผลการตอบข้อสอบภายใต้ปัจจัยที่แปรเปลี่ยน 4 ปัจจัย คือ ความยาวของแบบวัด 2 ขนาด ขนาดของการทำหน้าที่ต่างกัน 3 ระดับ สัดส่วนข้อคำถามที่ทำหน้าที่ต่างกัน 2 ขนาด และขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 5 รูปแบบ รวมข้อมูลทั้งหมดที่ต้องจัดกระทำเพื่อตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อสอบจำนวน 60 เงื่อนไข (2x3x2x5) ในแต่ละเงื่อนไขวนซ้ำ 100 รอบ ผลการวิจัยพบว่า 1. อัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของ ข้อคำถามในแบบวัดพหุมิติให้คะแนนหลายค่า วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบกลุ่มพหุ และวิธีการทดสอบวอลด์ สามารถควบคุมอัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ได้ดีกว่าวิธีโพลีโตมัสซิปเทสท์ โดยวิธีวอลด์มีค่าอัตราความคลาดเคลื่อนประเภทที่ 1 ต่ำกว่าและควบคุมได้ดีกว่าวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบกลุ่มพหุ เมื่อความยาวของแบบวัดเพิ่มขึ้น 2. อำนาจการทดสอบในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถาม ในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถามในแบบวัดพหุมิติให้คะแนนหลายค่า วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบกลุ่มพหุมีอำนาจการทดสอบสูงกว่าวิธีการทดสอบวอลด์ และวิธีโพลีโตมัสซิปเทสท์ ทั้งสามวิธี มีอำนาจการทดสอบสูง และใกล้เคียงทุกเงื่อนไข 3. โดยภาพรวมวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบกลุ่มพหุมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบ การทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถามดีกว่าวิธีวอดล์ เมื่อความยาวของแบบวัดมากขึ้น วิธีวอดล์ มีประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันดีกว่าวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบกลุ่มพหุ โดยทั้งสองวิธีมีประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันดีกว่าวิธีโพลีโตมัสซิปเทสท์ ในทุกเงื่อนไข
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการสอบ -- การให้คะแนน
dc.subjectการให้คะแนน (นักเรียนและนักศึกษา)
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษา
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการตรวจสอบการทำหน้าที่ต่างกันของข้อคำถามในแบบวัดพหุมิติให้คะแนนหลายค่าด้วยวิธีโพลีโตมัสซิปเทสท์ วิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันกลุ่มพหุและวิธีการทดสอบวอลด์
dc.title.alternativeCompring performnce of differentil item function detection for multidimensionl polytomous scored items using poly-sibbtest, multi group confirmtory fctor nlysis nd wld test
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to; compare the performance of the power of the type I error rate of Poly-SIBTEST, perform multi group confirmatory factor analysis and Wald test procedures in detecting the differential item functioning (DIF) for multidimensional polytomous items. The data were simulated under the multidimensional graded response model. The type of all items were in five response categories scoring as 1, 2, 3, 4 or 5. This data was simulated under a variety of four factors: two differing levels of test length, three differing levels of magnitude of DIF, two differing levels of proportion of DIF items, and five differing levels of sample sizes. A total of 60 conditions were studied. The data were replicated 100 times for each condition. The major findings were as follows; 1. The type I error rate of multi group confirmatory factor analysis and Wald test procedures on detecting of DIF for multidimensional polytomous items has control type I error rate lower than Poly-SIBTEST, Wald test has type I error rate lowest and when test length increased, Wald test was control type I error rate better than other methods. 2. The power of testing for Poly-SIBTEST, multi group confirmatory factor analysis, and Wald test procedures on detecting of differential item functioning (DIF) for multidimensional polytomous item have high power and were similar in all conditions. 3. Multi group confirmatory factor analysis is more efficient than the Wald test when test length increased. Wald test is more efficient than multi group confirmatory factor analysis and multi group confirmatory factor analysis and Wald test is more efficient than Poly-SIBTEST procedure on detecting of differential item functioning (DIF) for multidimensional polytomous items under all conditions.
dc.degree.levelปริญญาเอก
dc.degree.disciplineวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา
dc.degree.nameปร.ด.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.53 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น