กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6862
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภูเบศ เลื่อมใส | |
dc.contributor.advisor | ดวงพร ธรรมะ | |
dc.contributor.author | สุปราณี เสงี่ยมงาม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:21:45Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:21:45Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6862 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยตนเอง เรื่อง การผลิต วารสารวิชาการ สำหรับบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1¬/ E2 = 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียนด้วยชุดการเรียนด้วยตนเอง 3) ศึกษาความความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อชุดการเรียนด้วยตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) ชุดการเรียนด้วยตนเอง เรื่อง การผลิตวารสารวิชาการ สำหรับ บุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง 3) แบบสอบความความคิดเห็นของผู้เรียน โดยมีกระบวนการพัฒนาเริ่มจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง สัมภาษณ์ผู้รู้และการพัฒนาชุดการเรียน นำข้อมูลมาวิเคราะห์และสร้างชุดการเรียน จากนั้นนำชุดการเรียน ที่สร้างขึ้นไปทดลองใช้แบบรายบุคคล แบบรายกลุ่ม และแบบภาคสนาม เพื่อหาข้อบกพร่องและนำไป ปรับปรุงแก้ไข นำชุดการเรียนที่ปรับปรุงแล้วไปใช้กับบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 30 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าประสิทธิภาพชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง E1/E2 การทดสอบ ค่า t แบบ Dependent ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุดการเรียนด้วยตนเอง เรื่อง การผลิตวารสารวิชาการ สำหรับบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่พัฒนาขึ้น มีเนื้อหาประกอบด้วย 4 หน่วย คือ ความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับวารสารวิชาการ, รูปแบบและประเภทของบทความที่จะตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ, กระบวนการ จัดทำและคัดเลือกบทความที่จะตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ และค่าดัชนีประเภทต่าง ๆ และเกณฑ์ การประเมินวารสารวิชาการ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.83/91.00 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) ผู้เรียน ที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยตนเอง เรื่อง การผลิตวารสารวิชาการ สำหรับบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน (t = 23.760, p = .000) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วยตนเอง เรื่อง การผลิต วารสารวิชาการ สำหรับบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X ̅ = 4.43, SD = 0.16) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | วารสารวิชาการ -- ไทย | |
dc.subject | แบบเรียนสำเร็จรูป -- การผลิต | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.title | การพัฒนาชุดการเรียนด้วยตนเองเรื่องการผลิตวารสารวิชาการสำหรับบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.title.alternative | Development of self instructionl pckge on journl production for fculty of eduction personnel’s | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were 1) to develop a self-instructional package on journal production for the faculty of Educaton’s staffs with the 80/80 criterion. 2) to compare the pre-test and post-test scores after learning with the package, and 3) to study the opinion of the staff member at the Facultyof Education on the package. The participants of the study were 30 staff members at the Faculty of Education. The instruments used were: 1) a self-instructional package on journal production, 2) pre-test and post-test in journal production and 3) staff members’ opinion questionnaires. The package was developed by reviewing the literature on the problem, interviewing the editors and editorial assistant, developing the package, do the data analyzing and creating the self-instructional package on journal production. The package was tried out with individuals, groups, and field tested to find challenges and to revise the package accordingly. After that, it was implemented with 30 participants at the Faculty of Education, Burapha University. The data were analyzed by using : mean, standard deviation, efficiency of learning E1/E2, and t-test for dependent sample. The results were that; 1. The self-instructional package on journal production and its properties for staff members, consisted of four units; they were; journal production foundation, types of journal articles, selection process and journal evaluation. The package possessed the efficiency level of 88.83/91.00, which met the set 80/80 criterion. 2. The post-test mean score after learning with the package were significantly higher than the pre-test mean score at the .05 level. 3. The staff member’s satisfaction was at high level. (X ̅ = 4.43, SD = 0.16) | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีการศึกษา | |
dc.degree.name | กศ.ม. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.35 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น