กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6838
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภชน์ อเนกสุข | |
dc.contributor.advisor | สุรีพร อนุศาสนนันท์ | |
dc.contributor.author | อัญชลี ทองประกอบ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T03:21:41Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T03:21:41Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6838 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคม และศึกษาความเป็นได้ในการนำ ตัวบ่งชี้ไปใช้วัดความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน หัวหน้าหมวดวิชา และครูผู้สอน จำนวน 660 คน จาก 220 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามและแนวคำถามที่ใช้สัมภาษณ์ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน สาขาบริหารธุรกิจ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเบ้ ค่าความโด่ง สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ความตรง ความเที่ยงขององค์ประกอบ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนเฉลี่ยของตัวแปรแฝงที่ถูกสกัดได้ ผลการวิจัย พบว่า 1. ตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน สาขาบริหารธุรกิจ 5 ด้าน คือ ด้านผู้มีส่วนได้เสีย ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม วัฒนธรรม และ ด้านอาสาสมัคร แต่ละด้านมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก และมีความสอดคล้องกันระหว่างการดำเนินงานกับความคาดหวังที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 2. องค์ประกอบเชิงยืนยันของตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (2 = 2.002, Chi-square/ df = 1.001, df = 2, p = .367, GFI = .998, CFI = 1.000, RMR = .001, RMSEA = .001, MFI = .999) ค่าความตรงระหว่าง .4830 ถึง .8930 ค่าความเที่ยงขององค์ประกอบระหว่าง .5515 ถึง .7976 ค่าความแปรปรวนเฉลี่ยของตัวแปรแฝงที่ถูกสกัดได้ .50 และผลการใช้ตัวบ่งชี้มีความถูกต้องร้อยละ 83.90 3. ผลการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำตัวบ่งชี้ไปใช้วัดความรับผิดชอบต่อสังคม ของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน สาขาบริหารธุรกิจ กลุ่มสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ที่มีคะแนน จากบ่งชี้ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยสูงกับกลุ่มสถาบันที่มีค่าเฉลี่ยต่ำ สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติ ดังนี้ กลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยสูง มีจุดเน้นความรับผิดชอบต่อสังคมทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้มีส่วนได้เสีย ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม วัฒนธรรม และด้านอาสาสมัคร โดยมีความคิดเห็นว่า ควรมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน อันเป็นผลสู่รากฐานทางเศรษฐกิจของประเทศ กลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยต่ำ มีจุดเน้นความรับผิดชอบต่อสังคม 2 ด้าน ได้แก่ ด้านสังคม วัฒนธรรม และด้านอาสาสมัคร โดยมีความคิดเห็นว่า สามารถสื่อให้เห็นภาพกิจกรรมที่ทำ และส่งเสริมภาพลักษณ์ของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนได้ | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสังคม | |
dc.subject | ตัวบ่งชี้ทางการศึกษา | |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา | |
dc.subject | การบริหารการศึกษา | |
dc.subject | การศึกษาทางวิชาชีพ | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์?aปริญญาเอก | |
dc.title | การพัฒนาตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชนประเภทวิชาบริหารธุรกิจ | |
dc.title.alternative | A development of corporte socil responsibility indictors ofprivte voctionl institutions | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research objectives of the study were to; 1) develop indicators of social responsibility of private vocational institutions, 2) conduct confirmatory factor analysis of indicators of social responsibility, and 3) study the possibility of implementing the indicator in measuring the social responsibility of the private vocational institutions. The samples include the management of private vocational institutions, heads of department, and teachers with the total of 660 people from 220 private institutions. The instruments used in the research were questionnaires and interview guide that were used to interview social responsibility of private vocational institutions. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, skewness, kurtosis, Pearson correlation coefficient, the confirmatory factor analysis, construct reliability and average variance extracted. The finding found that: 1. The indicators of social responsibility of the private vocational institutions consisted of five aspects, they were stakeholders aspect, environmental aspect, economic aspect, social, cultural aspect and volunteering aspect. Each aspect possessed the high level. The consensus between the operation and the expectations was statistical significance different at .05 level. 2. The components of the indicator confirmed the social responsibility of the private vocational institutions. Type of business administration are consistent with the empirical data. (2 = 2.002, Chi-square/ df = 1.001, df = 2, p = .367, GFI = .998, CFI = 1.000, RMR = .001, RMSEA = .001, MFI = .999) the validity value was between .4830 to .8930, the factor validity was .5515 to .7976, the validity of the variance of the variables were extracted was .50 and the indicator is accurate at 83.90 percent. 3. The possibility of implementing the indicator to measure the social responsibility of the private vocational institutions with the private vocational institutions that possessed high indicator scores and the private vocational institutions that possessed low indicator scores are possible as follows; The group with high score possessed five aspects of social responsibility; stakeholders, environmental, economic, social, cultural and volunteering. It is suggested that the focus should be on sustainable development as a result of the country's economic foundation. The group with low score focused on two aspects of social responsibility; social, cultural and volunteering. They have the opinion that they can visualize the activities that they done and can promote the image of private vocational institutions. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | วิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา | |
dc.degree.name | ปร.ด. | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 4.53 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น