กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6756
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ปั้นหุ่น
dc.contributor.advisorสุรินทร์ สุทธิธาทิพย์
dc.contributor.authorผ่องศรี คุณารักษ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:20:09Z
dc.date.available2023-05-12T03:20:09Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6756
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการปรึกษารายบุคคลตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อคุณค่าในตนเองของผู้หญิงที่ผิดหวังในความรัก เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิตปริญญาตรีหญิงที่ผิดหวังในความรัก จำนวน 12 คน สมัครใจเข้าร่วมการวิจัยและมีความสมัครใจเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษา มีประสบการณ์ ความผิดหวังในความรักแบบเพศตรงกันข้าม ในระยะเวลาไม่เกิน 2 เดือนก่อนเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษา และมีคะแนนแบบวัดคุณค่าในตนเองตั้งแต่ 5 คะแนน สุ่มตัวอย่างแบบ Random assignment เพื่อจำแนกออกเป็น 2 คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 6 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบวัดคุณค่าในตนเองและโปรแกรมการปรึกษารายบุคคลตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม แบบวัดคุณค่าในตนเอง ผู้วิจัยแปลจากแบบวัดของ Sorensen self-esteem test (Sorensen, 2006) และหาคุณภาพของแบบวัด ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .85 การวิจัยวัด 3 ระยะ คือ ก่อนทดลอง หลังทดลอง และติดตามผล สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม ผลการวิจัย พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการปรึกษากับระยะเวลาการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้หญิงทิ่ผิดหวังในความรักที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษา มีคะแนนคุณค่าในตนเองสูงกว่ากลุ่มควบคุมในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผู้หญิงที่ผิดหวังในความรักที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษา มีคะแนนคุณค่าในตนเองในระยะหลังการทดลองแตกต่างกันกับในระยะก่อนการทดลอง และระยะติดตามผลแตกต่างกันกับในระยะก่อนการทดลองอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา
dc.subjectความรัก
dc.subjectความรัก -- แง่จิตวิทยา
dc.titleผลการปรึกษารายบุคคลตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อคุณค่าในตนเองของผู้หญิงที่ผิดหวังในความรัก
dc.title.alternativeThe effects of the rtion emotive behvior therpy with individul counseling on self-esteem of broken herted women
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis experimental research, aimed to study the effects of the rational emotive behavior therapy with individual counseling on self-esteem of broken hearted women. The participants were 12 broken hearted women with score of self-esteem greater than or equal to 5 point. The sample was female undergraduates whose age ranges from 18-22 years old who had experience of heartbreak with in 2 months period. They were randomly assignment into 2 group equally; the experimental and control group. The two instruments used in this research were self-esteem test and rational emotive behavior therapy (REBT) with individual counseling program. Self-esteem test was translated from Sorensen self-esteem test (Sorensen, 2006), the researcher translated into Thai version with the reliability at .85. The data collection procedure was divided into three phases: pre experiment, post experiment and follow up. It was analyzed by wring repeated-measure analysis of variance: one between-subject and within subject variable, including pair comparison through the Bonferroni procedure. The results revealed that the method and the duration of the experiment were interacted significantly at .05 level. The experimental group had self-esteem scores higher than the control group significantly both posttest and follow up session at .05 level. The experimental group has different scores on self-esteem between post experiment and pre experiment, follow up and pre experiment, however the differences were not statistically significant.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษา
dc.degree.nameกศ.ม.
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น