กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6603
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.authorนาถรภี ชูอ่อน
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T03:12:13Z
dc.date.available2023-05-12T03:12:13Z
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6603
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2561
dc.description.abstractเนียงนก (Archidendron bubalinum) และเนียง (Archidendron jiringa) เป็นพืชท้องในภาคใต้ของไทยเมล็ดของพืชทั้งสองนิยมนำมารับประทานแกล้มกับอาหาร นอกจากนี้พืชดังกล่าว ยังมีการนำไปใช้ในการแพทย์แผนไทย เช่น ใช้ฝักในการ รักษาโรคเบาหวาน และใช้ใบพอกรักษา โรคผิวหนัง เป็นต้น ในการศึกษานี้เป็นการทดสอบหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม สารประกอบ ฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสจากส่วนสกัดชั้นต่าง ๆ ของเนียงนกและเนียง ซึ่งส่วนสกัดดังกล่าวนั้นเตรียมโดยการสกัดแบบต่อเนื่อง (Soxhlet extraction) ด้วยตัวทำละลายอินทรีย์ 7 ชนิดคือ เฮกเซน ไดคลอโรมีเทน เอทิลอะซิเตท อะซิโตน เอทานอล เมทานอลและน้ำ จากผลการทดลองพบว่า สารสกัดจากเปลือกรากในชั้นอะซิโตนของทั้ง เนียงนกและเนียงมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมสูงที่สุด และสารสกัดจากเนียงนก (396.51±2.94 mgGAE/g) มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมสูงกว่าเนียง (358.25±12.68 mgGAE/g) นอกจากนี้ พบว่า สารประกอบฟลาโวนอยด์รวมในพืชทั้งสองชนิดมีปริมาณน้อยมากจากการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH พบว่า สารสกัดหยาบจากเนียง (42.17±0.45 ถึง 100.89±0.78%) ที่ความเข้มข้น 2000 g/mL มีร้อยละการต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าเนียงนก (11.10±0.42 ถึง 98.95±0.15%) ในขณะที่ทุกสารสกัดหยาบจากเนียงนกที่ความเข้มข้น 2000 g/mL มีร้อยละในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสสูงกว่าสารสกัดหยาบจากเนียงอีกด้วย
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเคมี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเคมีศึกษา
dc.subjectอนุมูลอิสระ
dc.titleการศึกษาทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพจากพืชสกุล Archidendron
dc.title.alternativeChemistry nd biologicl ctivity studies from plnt in the genus rchidendron
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeNiangnok (Archidendron bubalinum) and Niang (Archidendron jiringa) are local plants from the southern part of Thailand. Archidendron seeds are consumed by the traditional people. These plants were used in Thai traditional medicine such as pods used for the treatment of diabetes or leaves masked for skin disease. This research was performed to evaluate the total phenolic and total flavonoid contents as well as antioxidant and acetylcholinesterase inhibitory activities from several parts of two Archidendron extracts. These plant extracts were prepared by Soxhlet extraction technique using seven organic solvents including hexane, dichloromethane, ethyl acetate, acetone, ethanol, methanol and water. From the results found that acetone extracts of root bark from these plants showed the highest total phenolic content and A. bubalinum extracts (396.51±2.94 mgGAE/g) showed more total phenolic content than A. jiringa extracts (358.25±12.68 mgGAE/g). Moreover, all extracts of two Archidendron plants showed low total flavonoid content. From antioxidant activity, all extracts from Niang (42.17±0.45 to 100.89±0.78%) showed stronger DPPH radical inhibitory activity than all extracts from Niangnok (11.10±0.42 to98.95±0.15%) at 2000 g/mL. In addition, all extracts from A. bubalinum showed stronger acetylcholinesterase inhibitory activity than all extracts from A. jiringa at 2000 g/mL.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineเคมีศึกษา
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.73 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น