กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6426
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorชำนาญ งามมณีอุดม
dc.contributor.advisorทักษญา สง่าโยธิน
dc.contributor.authorเผด็จไชย แพงเกาะ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:51:15Z
dc.date.available2023-05-12T02:51:15Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6426
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางปรับปรุงการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) เพื่อปรับปรุงการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) ในบริษัทผลิต โพลียรูีเทน แห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสมภาษณ์ เชิงลึกส่วนของปัญหาในการทำระบบ TPM เสา AM และระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในการทำการปรับปรุงงานบำรุงรักษา ด้วยตนเองตามกระบวนการ PDCA และข้อเสนอแนะการปรับปรุงกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นพนักงานบริษัททำการศึกษาวิจัย จำนวน 20 คน เครื่องจักรใช้ปฏิบัติการวิจัย 13 เครื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ และวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการปฏิบัติงานจากระบบฐานข้อมูลที่ปรับปรุงการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรม SPSS for windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติไดใช้ สถิติ Paired-sample t-test ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาหลักที่ได้จากการวิเคราะห์สำหรับการทำงานบำรุงรักษาด้วยตนเองของระบบการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม ปัญหาอันดับแรกไม่มีระบบในการติดตามว่างานการบำรุงรักษามีการทำจริงหรือไม่อย่างไร ไม่มีระบบการบันทึกข้อมูลงานบำรุงรักษาที่เป็นระบบระเบียบเป็นมาตราฐานเดียวกัน ไม่มีการตรวจสอบจากหัวหน้างานและส่วนสนับสนุนปัญหาลำดับต่อมามา การมีส่วนร่วมของพนักงานความร่วมมือจากพนักงานและความเอาใจใส่ของหัวหน้างานการปรับปรุงโดยใช้ระบบฐานข้อมูลในการทำงานบำรุงรักษาด้วยตนเอง พบว่า จากการใช้ระบบฐานข้อมูลมีจำนวนงานการบำรุงรักษาทำสำเร็จหลังปรับปรุงดีกว่าก่อนปรับปรุงที่ระดับนัยสำคัญ .05 ค่า t -3.311* และค่า Sig (2-tailed) .031 จำนวนงานทำเสร็จตามกำหนดหลังปรับปรุงดีกว่าก่อนปรับปรุงที่ระดับนัยสำคัญ .05 ค่า t -2.508* และค่า Sig (2-tailed) = .040 ระบบฐานข้อมูลสามารถดึงพนักงานและหัวหน้าางานให้มีส่วนร่วมในงานบำรุงรักษาด้วยตนเองได้เพิ่มขึ้น
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.subjectการปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
dc.subjectการบำรุงรักษาเชิงทวีผลโดยรวม
dc.subjectการบำรุงรักษา
dc.titleแนวทางปรับปรุงการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (AM) เพื่อปรับปรุงการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) : กรณีศึกษา บริษัทผลิตโพลียูรีเทนโฟมแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeImprovement pproch of utonomous mintennce (m) to improve totl productive mintennce (tpm) cse study polyurethne fom compry in chonburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe aim of this research is to study to find the way to improve Autonomous Maintenance (AM) for improvement of Total Productive Maintenance in one of the Polyurethane companies in Chonburi. It is a qualitative, action and quantitative research. The equipment which was used in the research is in-depth interview of the problems in Autonomous Maintenance and Total Productive Maintenance and Database of Autonomous Maintenance following PDCA process and some suggestions for improvement. The examples which were used in the research were the 20 employees in the company and 13 equipments were used for this research. The equipment was interview and collecting data process. The SPSS for Windows were used to analysis the data of the database which needed to improve and the Paired-Sample T test was used to analysis the statistic of the sample test comparing the before and after at the significant level .05 From the result found that the main problems which had gained from the analysis for Autonomous Maintenance and Total Productive Maintenance are the lack of the following of feedback of the improvement whether it was working or not, lack of the saving data of the improvement, don’t have the checkup for the leaders and supporters and also the participation of the employees and the attention of the employers. From the using of the database for Autonomous Maintenance found that this method is success number of mainteannce work done after the improvement was better than before at significant .05 level, t value = -3.311 * and Sig value (2-tailed) = .031. The number of jobs completed as due date before and after the used database at significantly .05 level, t value = -2.508 * and Sig (2-tailed) = .040. The number has increased after the improvement. The database can pull the employees and employers to become one part in Autonomous Maintenance more.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.59 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น