กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6404
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorลือชัย วงษ์ทอง
dc.contributor.authorเรวัตตะ พินิจไพฑูรย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:47:40Z
dc.date.available2023-05-12T02:47:40Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6404
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกร อําเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ประการแรก เพื่อศึกษาถึงปัจจัยด้านกระบวนการตัดสินใจและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อเคมีเกษตร หรือ ปุ๋ยเคมีเกษตร และอาหารเสริมพืชของเกษตรกร ในเขตอําเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี เพื่อพัฒนาการขายให้มีประสิทธิภาพ ประการที่สอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบถึงปัจจัยสําคัญในการเลือกซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกร อําเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี โดยจําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างคือ เกษตรกรที่มาซื้อเคมีเกษตรในเขตอําเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี จํานวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้สถิติความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) นําข้อมูลมาประมวลผลโดยทดสอบด้วยสถิติการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple linear regression analysis) จากผลการศึกษาทําให้ผู้วิจัยค้นพบว่า ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของเกษตรกร พบว่า ส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีอายุอยู่ในช่วง 40-49ระดับการศึกษาปริญญาตรีมีจํานวนมากที่สุด มีระดับการศึกษาในระดับปริญญาตรีมีรายได้ผลผลิตเฉลี่ย 800,001-1,000,000 บาท และส่วนใหญ่มีพื้นที่ ในการทําเกษตร 31-50 ไร่ การทดสอบสมมติฐานพบว่ากระบวนการตัดสินใจซื้อกับระดับการตัดสินใจเลือกซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกร มีความสัมพันธ์กันร้อยละ 25.0 ซื้อเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การตัดสินใจซื้อมีผลต่อระดับการเลือกซื้อมากที่สุด มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระในรูปคะแนนมาตรฐานเท่ากับ .400 รองลงมาคือ พฤติกรรมหลังการซื้อ เท่ากับ .158 การประเมินทางเลือก เท่ากับ .151 และการแสวงหาข้อมูลเท่ากับ -.105 และส่วนประสมทางการตลาดกับระดับการตัดสินใจเลือกซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกร มีความสัมพันธ์กัน ร้อยละ 12.2 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านราคามีผลต่อระดับการเลือกซื้อมากที่สุด มีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระในรูปคะแนนมาตรฐานเท่ากับ .184 รองลงมา เป็นด้านพนักงาน เท่ากับ .175 ด้านการจัดจําหน่าย เท่ากับ .148 และด้านการส่งเสริมการตลาด เท่ากับ .101
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectเคมีการเกษตร
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้า
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเคมีเกษตรของเกษตรกร อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี
dc.title.alternativeFctors tht ffect the selection of griculturl chemicls of frmers in Mkhm district, Chntburi
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research has the objectives (1) to study how the decision making process factor and marketing mix factor affect the selection of agricultural chemicals, fertilizer, and plant supplements in Makham district, Chantaburi to increase selling efficiency, and (2) to compare the determining factors in selecting agricultural chemicals of farmers in Makam district, Chantaburi categorized by demographic factors. The samples are 400 farmers who used to buy agricultural chemicals in Makham district, Chantaburi. Statistics used include frequencies, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression. This study also interviews 10 agricultural chemical business owners. This research finds that most of the samples are male, 40-49 years old, have a Bachelor’s degree, have 800,001-1,000,000 Baht in income, and own 31-50 rai of land. Hypothesis testing reveals that decision making process is related to the level of decision making process at 25% level. When considering each aspect, it is found that the purchase decision affects the level of purchasing decision the most with 0.4 standardized coefficient value. Ranked next are after purchase behavior (0.158), alternative evaluation (0.151), and information searching (-0.105). The marketing mix factor also is related to the level of purchasing decision at 12.2%. When considering each aspect, it is found that price affects the level of purchasing decision the most with 0.184 standardized coefficient value. Ranked next are personnel (0.175), distribution (0.148), and marketing promotion (0.101).
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.46 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น