กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6399
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสุธาศิณี สุศิวะ
dc.contributor.authorสุวิมล เลี้ยงเชวงวงศ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:47:39Z
dc.date.available2023-05-12T02:47:39Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6399
dc.descriptionงานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของแรงงานชาว สปป.ลาวในนิคมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของแรงงานชาว สปป.ลาวในนิคมอมตะนครจังหวัดชลบุรี 3) เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ด้านราคา ด้านทำเลที่ตั้ง ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการในการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของแรงงานชาว สปป.ลาว ที่ทำงานในนิคมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือแรงงานชาว สปป.ลาวในนิคมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี จำนวน 268 คน ด้วยวิธีการสำรวจ (Survey research method) ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือความถี่ ร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ Peason chi-square ผลการวิจัย พบว่า แรงงานชาว สปป.ลาว ในนิคมอมตะนครจังหวัดชลบุรีส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 20-30 ปี มีรายได้ 15,000-25,000 บาท มีสถานที่พักอาศัยภายในนิคมอุตสาหกรรม และส่วนใหญ่ มีระยะเวลาทำงาน 1-3 ปี และเป็นลูกจ้างในบริษัท พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค แรงงานชาว สปป.ลาว ในนิคมอมตะนคร จังหวัดชลบุรีความถี่ของการเลือกซื้อสินค้า/ เดือน จำนวนไม่แน่นอน มีประเภทสินค้าอุปโภคบริโภคที่เลือกซื้อ คือ สินค้าสะดวกซื้อ ส่วนใหญ่มีช่วงเวลาในการไปใช้บริการหลัง 18.00 น. ขึ้นไป มีเหตุผลในการไปใช้บริการ คือรับประทานอาหาร ส่วนใหญ่มีบุคคลสำคัญที่ไปร่วมใช้บริการเลือกซื้อสินค้า คือ สมาชิกครอบครัว มีแหล่งที่มาของข้อมูลเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค คือ ญาติ/ เพื่อน ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้บริโภคแรงงานชาว สปป.ลาวในนิคมอมตะนครจังหวัดชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของแรงงานชาว สปป.ลาว มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญ 0.05 ยอมรับสมมติฐานการวิจัย เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เพศ อายุรายได้สถานที่พักความสัมพันธ์ในเชิงบวกที่ระดัยนัยสำคัญ 0.05 และระยะเวลาการทำงานไม่มีความสัมพันธ์ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคลของแรงงานชาว สปป.ลาว มีความสัมพันธ์กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของแรงงานชาว สปป.ลาว ในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะนครจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญ 0.05
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectสินค้า -- การตัดสินใจ
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้า -- ชลบุรี
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการธุรกิจโลก
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคของผู้บริโภคแรงงานชาว สปป.ลาว ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternativeBehvior shopping consumer of people lo people’s democric reppublic nd kidneys, mt nkorn in chon buri
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was 1) to study personal factors. Marketing Mix Factor And consumer purchasing behavior of Lao PDR workers in Amata Nakorn Industrial Estate 2) To study the relationship between personal factors and consumer purchasing behavior of Lao PDR workers in Amata Nakorn Industrial Estate, Chon buri Province. And the marketing mix of price products in the location. The promotion of the physical aspect of the person. And the process of buying consumer goods from Lao PDR workers working in the Amata Nakorn Industrial Estate, Chon buri. The research population was 268 Lao PDR workers in Amata Nakorn Industrial Estate, Chon buri. Survey research method was used. Questionnaire was used as a tool to collect data. Statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation, and Peason chi-square statistic. he results showed that the Lao PDR workers in Amata Nakorn Industrial Estate were mostly female. 20-30 years old. Income of 15,000-25,000 baht. Housing in the industrial estate. Most of them have a working time of 1-3 years and are employed by the company.Purchasing behavior of Lao PDR workers in Amata Nakorn Industrial Estate, Chon buri. Frequency of purchase per month is uncertain. There are consumer products to choose from. Most of the time, after 18.00 pm, there is a reason to use the service. Most of the people who go shopping are family members. There are sources of consumer purchasing information: relative / friend, marketing mix, consumer purchasing behavior, Lao PDR in Amata Nakorn Industrial Estate, Chon buri The overall level is very high. The hypothesis test found that the relationship between personal factors of Lao PDR workers influenced consumer purchasing behavior. There were significantly positive correlations. 0.05 Accepted Research Assumptions When considering each item, it was found that gender, age, income, location, residence were positively correlated. At significance level 0.05 and working time No relationship at significance level 0.05. The personal factors of Lao PDR workers were correlated with the marketing mix of consumer goods of Lao PDR workers in Amata Nakorn Industrial Estate. Chon buri province Significantly, 0.05.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการธุรกิจโลก
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.2 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น