กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/631
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอนุเทพ ภาสุระ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T08:52:58Z
dc.date.available2019-03-25T08:52:58Z
dc.date.issued2541
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/631
dc.description.abstractการสำรวจเห็ดป่าที่นิยมรับประทานในประเทศไทยช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนและเดือนกรกฎาคม 2541 บริเวณป่าจังหวัดชลบุรี พบเห็ดป่าเพียงชนิดเดียว คือ เห็ดตีนแรด (Tricholoma crassum(berk.) Sacc.) เมื่อนำมาทำการทดลองเพาะเลี้ยงเห็ดตีนแรดบนอาหารต่าง ๆ พบว่า เส้นใยเห็ดตีนแรดบนอาหารพีดีเอ กับพีดีเอผสมกับน้ำสกัดฟางข้าว (Potato dextros straw extractagar) พบว่า สามารถเจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียสและความเป็นกรด-ด่าง 7 เส้นใยที่เลี้ยงบนอาหารในที่มืดจะเจริญเติบโตได้ดีกว่าในที่มีแสงสว่าง 12 ชั่วโมงต่อวัน การทดลองแหล่งคาร์บอนที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเส้นใย พบว่า เส้นใยเห็ดตีนแรดสามารถใช้มอลต์โตส แป้ง และแป้งข้าวจ้าวได้ดี ส่วนแหล่งไนโตเจนที่ดี ได้แก่ กรดกลุตามิก และแอมโมเนียมคลอไรด์ การเพาะเห็ดตีนแรดในอาหาร 6 สูตร พบว่า สูตรอาหารที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดตีนแรดคือ อาหารที่ประกอบด้วยขี้เลื่อย 95 เปอร์เซ็นต์ และรำละเอียด 5 เปอร์เซ็นต์ บรรจุลงถุงหนัก 800 กรัมต่อถุง ได้ผลผลิต 73.0 กรัมต่อถุง ในระยะเวลา 104.5 วัน (B.E. = 26.07 %) การใส่อาหารเสริมอื่นๆ เช่น แป้งข้าวเหนียว แป้งข้าวจ้าว หรือน้ำตาลทราย อีก 2 เปอร์เซ็นต์ ไม่ทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นและการเปิดถุงรดน้ำควรกระทำเมื่อก้อนเชื้อมี อายุประมาณ 20 วัน หลังจากเส้นใยเจริญเต็มถุง โดยการเปิดถุงควรเปิดปากถุงแล้วใช้ดินร่วนคลุมผิวหน้าก้อนเชื้อ แสงไม่มีอิทธิพลต่อเห็ดตีนแรด ก้อนเชื้อที่ไม่ได้รับแสงสว่าง จะออกดอกเร็วกว่าและให้ผลผลิตสูงกว่าก้อนเชื้อที่ได้รับแสงth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับเงินอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2541en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectเห็ดป่า - - วิจัยth_TH
dc.subjectเห็ดป่า - - การขยายพันธุ์ - - วิจัยth_TH
dc.subjectเห็ดป่า - - การสำรวจth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการสำรวจและเพาะเห็ดป่าที่นิยมรับประทานในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeSurveying and cultivation of favarite wind Mushroom in Thailanden
dc.typeResearch
dc.year2541
dc.description.abstractalternativeSurveying of wild mushroom in forest of Chonburi Province between June and July , 1998 was investigated. There was only one species of wild mushroom ,Hed Teen rad (Tricholoma crassum(Berk.) Sacc.). Some physiological aspects and cultivation of Tricholoma crassum were investigated. It produced maximum mycelial growth on potato dextrose agar. Optimum temperature and pH for mycelial growth were tested on potato dextrose agar and potato dextrose straw extract agar. The maximum growth was obtained at temperature 30° C and pH7. Light retarded mycelial of T. crassum. In terms of carbon sources, the best mycelial growth was obtained on media containing maltose as carbon source, starch and rice flour were the second. T. crassum utilizes glutamic acid better than other nitrogen sources. NH4CI is also good nitrgen source. Six cultivations, the method of growing mushrooms in polypylene bag were applied. The results showed that sawdust supplemented with 5% rice bran was the most appropiate formula for T. crassum production, the most average yield obtained during 104.5 days was 73.0 gm/bag.(B.E. = 26.07 %). The cultivating bags should be move to mushroom shelves for fructification withtin 20 days after they were fully colonized by the mushroom mycelium. Yield from the treatment which the surface of the spawn was left opened by the casing were greater than the other methods.Yield of the cultivation bags in dark condition was higher than light condition 12 hour/dayen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น