กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6316
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกาญจนา บุญยัง
dc.contributor.authorดารา ศรีรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:42:25Z
dc.date.available2023-05-12T02:42:25Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6316
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “คุณภาพชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพา” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของบุคลากรที่ปฏิบัติงานอยู่ในหน่วยงานสนับสนุน ภายในมหาวิทยาลัยบูรพาและเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างคุณภาพชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพา จําแนกตามระดับการศึกษา สถานภาพการทํางาน การปรับเปลี่ยนสถานภาพ ตําแหน่งทางวิชาชีพ อาชีพเสริม จํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่อยู่ในความดูแลที่พักอาศัย และประเภทสวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสาย สนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพา จาก 4 หน่วยงาน คือ สํานักบริการวิชาการ สํานักคอมพิวเตอร์ สํานักหอสมุด และสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล จํานวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธีการทดสอบ LSD ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพาในภาพรวมอยู่ในระดับกลาง ๆ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า บุคลากรสายสนับสนุนมีคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพกาย ด้านสุขภาพจิต ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม อยู่ในระดับกลาง ๆ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพาที่มีระดับการศึกษา สถานภาพการทํางาน การปรับเปลี่ยนสถานภาพจากข้าราชการมาเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ตําแหน่งทางวิชาชีพ และประเภทของสวัสดิการด้านการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ที่แตกต่างกัน จะมีคุณภาพชีวิตแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนบุคลากรสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพาที่มีอาชีพเสริม จํานวนสมาชิกในครัวเรือนที่อยู่ในความดูแล และที่พักอาศัยแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทํางานไม่แตกต่างกัน
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- บุคลากร -- ความพอใจในการทำงาน
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.titleคุณภาพชีวิตของบุคลากรหน่วยงานสนับสนุนในมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.title.alternativeQulity of life mong personnel working for supporting units in Burph university
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to examine quality of life among personnel working for supporting units in Burapha University and to compare their level of quality of life as classified by educational level, work condition, change of work status, occupational position, additional occupation, number of family members, type of accommodation, and type of provided medical service. The subjects participating in this study were 200 supporting employees working for 4 supporting units in Burapha University, including Academic Service Center, Computer Center, Central Library, and Institute of Marine Science. The instrument used to collect the data was a questionnaire. The statistical tests used to analyze the collected data included frequency, percentage, means, standard deviation, t-test, and One-way ANOVA. To test the differences between pairs, the Least Significant Difference test (LSD) was administered. The results of this study revealed that the level of quality of life of the majority of supporting personnel was at a moderate level. When considering each aspect, the ones in relation to physical and mental health, social integration, and work environment were rated at a moderate level. Also, Based on the results from the test of hypotheses, it was found that there were statistically significant differences in the level of quality of life among supporting employees with different educational level, work condition, change of work status, occupational position, and type of provided medical service at a significant level of .05.Finally, no statistically significant differences were found in the level of quality of life among supporting personnel who had different additional occupation, number of family members, and type of accommodation.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทั่วไป
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.47 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น