กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6229
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกาญจนา บุญยัง
dc.contributor.authorสิริมา อิทธิ์ประเสริฐ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned2023-05-12T02:37:27Z
dc.date.available2023-05-12T02:37:27Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6229
dc.descriptionงานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อประเมินสมรรถนะของผู้สูงอายุ ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ วุฒิการศึกษา อาชีพ ความเพียงพอของรายได้ บุคคลที่ดูแลเมื่อเจ็บป่วย สมรรถนะด้านความสามารถในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน และสมรรถนะด้านความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด จำนวน 267 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่และค่าร้อยละและทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ t-test และสถิติ F-test รวมถึง Welch และ Brownforsythe เปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยสถิติ Dunnett C ผลการวิจัย พบว่า ผลการประเมินสมรรถนะของผู้สูงอายุตามแบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติดัชนีบาร์เธลเอดีแอล พบว่า ผู้สูงอายุมีความสามารถในการดำรงชีพอยู่ในระดับไม่เป็นภาระพึ่งพาและการประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในกิจวตัรประจำวันขั้นสูง พบว่า ผู้สูงอายุมีความสามารถในการดำรงชีพอยู่ในระดับไม่เป็นภาระถึ่งพาเช่นกัน ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง โดยภาพรวม มีคุณภาพชีวิตระดับปานกลาง ส่วนผลการเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด อำเภอเมือง จังหวัดระยองที่มีวุฒิการศึกษา ความเพียงพอของรายได้ สมรรถนะด้านความสามารถ ในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน และสมรรถนะด้านความสามารถในการช่วยเหลือตนเองในกิจวัตร แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้สุงอายุที่มีเพศอายุสถานภาพสมรส และอาชีพต่างกัน มีคุณภาพชีวิตไม่แตกต่างกัน
dc.language.isoth
dc.publisherวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์
dc.subjectคุณภาพชีวิต -- ไทย -- ระยอง
dc.titleคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลแกลงกะเฉด อำเภอเมือง จังหวัดระยอง
dc.title.alternativeQulity of life of the elderly in kleng kchet municiplity, mueng district, ryong province
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to evaluate competency of the elderly, to study the quality of life of the elderly, and to compare their quality of life in Klaeng Kachet sub-district, Mueang district, Rayong province, categorized by gender, age, marital status, education, occupation, income adequacy, caregiver, competency in the ability to conduct daily activities, and competency in the ability to self-help in daily activities. The sample group was 267 elderly people in Klaeng Kachet Municipality. The data collection tool was a questionnaire. Data were analyzed using frequency and percentage. The hypotheses were tested with T-test statistics, F-test statistics, and Welch and Brown-Forsythe tests. Comparison of the differences between pairs was done with Dunnett's C statistics. From the study results, the competency evaluation of the elderly by functional ability assessment with the Barthel ADL Index indicated that the elderly had the capacity to live at an independent level. From the evaluation of their competency in the ability to self-help in daily activities, it was also found that the elderly had the ability to live at an independent level. The elderly’s overall quality of life in the Klaeng Kachet sub-district, Mueang district, Rayong province was at a medium level. From a comparison of the elderly’s quality of life, it was found that the elderly in Klaeng Kachet sub-district, Mueang district, Rayong province with different educations, income adequacy, competency in the ability to conduct daily activities, and efficacy competency in the ability to self-help in daily activities was different with the statistical significance at 0.05. The elderly’s quality of life by different genders, ages, marital status and occupation was not significantly different
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการบริหารทรัพยากรมนุษย์
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf1.07 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น