กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6201
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorกฤษดา ประสพชัยชนะ
dc.contributor.authorอรวรรณ สุขวานนท์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:36Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:36Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6201
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้นทุนชิ้นส่วนในระบบปรับอากาศรถยนต์ โดยใช้เทคนิควิศวกรรมคุณค่าโดยชิ้นส่วนสำคัญที่ถูกคัดเลือกในการลดต้นทุน คือ ตู้แอร์และท่อแอร์ จากนั้นทำการวิเคราะห์คุณค่าและหน้าที่พบว่า หน้าที่หลักที่ควรปรับปรุงเพื่อลดต้นทุน คือ “เพิ่มความยืดหยุ่นในการประกอบท่อแอร์” “รองรับชิ้นส่วนภายในตู้แอร์” “รองรับท่อแอร์” และ “จับยึดท่อแอร์” ซึ่งมีคุณค่า 0.11, 0.55, 0.61 และ 1.50 ตามลำดับ เนื่องจากหน้าที่หลักทั้งสี่นี้มีคุณค่าน้อยกว่าสอง ดังนั้น ชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่หลัก ดังกล่าว ถูกปรับปรุงโดย 1) ลดความยาวของท่อยางแอร์ 50% และทดแทนด้วยอลูมิเนียม 2) เปลี่ยนผู้ผลิตเม็ดพลาสติกที่นำมาผลิตกล่องตู้แอร์และ 3) นำตัวจับยึดท่อแอร์ออก ซึ่งหลังการปรับปรุงพบว่า ทุกแนวความคิดผ่านการทดสอบตามข้อกำหนดทั้งเรื่องการประกอบและคุณภาพ ส่งผลให้สามารถลดต้นทุนได้ 76 บาทต่อคันหรือคิด เป็น 3,040,000 บาทต่อปี
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectการควบคุมต้นทุนการผลิต
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมต้นทุนการผลิต
dc.subjectเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี)
dc.subjectอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม
dc.subjectอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- ต้นทุนการผลิต
dc.subjectการวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต)
dc.titleการลดต้นทุนโดยใช้เทคนิควิศวกรรมคุณค่า : กรณีศึกษา ชิ้นส่วนของระบบปรับอากาศรถยนต์
dc.title.alternativeCost reduction by using vlue engineering technique :b cse study of utomotive climte control system
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to reduce the cost of automotive climate control system by using value engineering technique. The parts of Ventilation and Air Conditioning (HVAC) and AC lines were selected in this case study. The primary function of the selected parts namely, “Increase flexibility in AC lines assembly” “Support component partsof HVAC” “Support AC lines” and “Fix AC lines” had the values of0.11, 0.55, 0.61 and 1.50 respectively. Therefore, the cost of components related to these primary functions had been reduced by 1) reducing the hose length of front auxiliary AC lines from 228 mm. to 114 mm. and replacing with aluminum pipe, 2) changing the supplier of raw material of HVAC plastic case, 3) removing the join block of rear auxiliary AC lines. After the improved designs were implemented, it was found that the results of manufacturing and quality test passed the customer standard. Therefore, the cost of automotive climate control system was decreased by 76 THB per each or 3,040,000 THB per year.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineการจัดการงานวิศวกรรม
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf3.91 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น