กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6198
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอานนท์ วงษ์แก้ว
dc.contributor.authorทวีศักดิ์ เจียมรัตโนภาส
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:35Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:35Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6198
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเก็บตัวอย่างวัสดุเพื่อนำมาคำนวณหาปริมาณซีเมนต์ที่เหมาะสมของส่วนผสมสำ หรับงานก่อสร้างผิวทางด้วยวิธี Pavement in-place recycling การศึกษาดำเนินการเปรียบเทียบค่าปริมาณซีเมนต์ที่ได้จากการเก็บตัวอย่าวัสดุโดยวิธีใช้เครื่อง SAW (Sawing machine) และวิธีใช้กากผิว (Reclaimed asphalt pavement) กับวิธีเก็บตัวอย่างวัสดุจากเครื่องจักรที่ใช้ทำงานจริง (Direct in-situ method) วิศวกรสามารถคำนวณหาปริมาณซีเมนต์ที่เหมาะสมต่อการทำงานได้แม่นยำกว่าการกำหนดปริมาณซีเมนต์ที่ร้อยละ 4.0 ของมวลรวม โดยน้ำหนักซึ่งเป็นค่าที่ได้จากเชิงประสบการณ์และเป็นค่าที่นิยมใช้ในการกำหนดปริมาณซีเมนต์ในงานก่อสร้างผิวทางด้วยวิธีนี้ในปัจจุบัน ตัวอย่างวัสดุทั้งหมดจากการเก็บตัวอย่างทั้ง 3 วิธี จะถูกทดสอบตามมาตรฐานงานทางของกรมทางหลวง โดยใช้ค่าขนาดคละ ปริมาณน้ำที่เหมาะสม และค่ากำลังอัตราจากนั้นค่าที่ได้จากการทดสอบถูกนำมาวิเคราะห์เพื่อใช้หาปริมาณซีเมนต์ที่เหมาะสมต่อไป ผลการศึกษา พบว่า ปริมาณซีเมนต์ที่เหมาะสมของส่วนผสมจากวิธีการใช้เครื่อง SAW วิธีใช้กากผิวและวิธีที่เก็บตัวอย่างวัสดุจากเครื่องจักรที่ใช้ทำงานจริง มีค่าเท่ากับร้อยละ 3.7 ร้อยละ 3.6 และร้อยละ 3.5 ของมวลรวมโดยน้ำหนัก ตามลำดับ ซึ่งทั้ง 3 วิธีมีค่าปริมาณซีเมนต์น้อยกว่าร้อยละ 4.0 ของมวลรวมโดยน้ำหนักและเมื่อนำมาคำนวณเปรียบเทียบด้านราคาต้นทุนก่อสร้างของทั้ง 3 วิธีเปรียบเทียบกับวิธีเชิงประสบการณ์แล้ว พบว่า ราคาต้นทุนลดลงร้อยละ 7.5 ร้อยละ 10.0 และร้อยละ 12.5 ตามลำดับ ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า วิธีการในการเก็บตัวอย่างวัสดุ โดยวิธีใช้เครื่อง SAW และวิธีใช้กากผิว สามารถใช้เป็นวิธีในการเก็บตัวอย่างวัสดุเพื่อหาปริมาณซีเมนต์ที่เหมาะสมในการทำงาน Pavement in-place recycling ของโครงการก่อสร้างทางผิวทาง ประเภทนี้ของกรมทางหลวงได้ต่อไป
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม -- กลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการงานก่อสร้าง
dc.subjectทางหลวง -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
dc.titleการศึกษาวิธีการเก็บตัวอย่างวัสดุที่เหมาะสมสำหรับงาน Pavement in-place recycling : กรณีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 344
dc.title.alternativeA study for suitble smpling methods for the pvement in-plce recycling :b cse study of pvement in-plce recycling process on Highwy No. 344
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis independent project aims to study sampling methods of the raw materials for determining the appropriate amount of cement using in the pavement in-place recycling road reconstruction. By comparing the sampling methods named as Sawing Machine (SAW) and Reclaimed Asphalt Pavement (RAP) with the Direct In-situ Method (Direct) sampling from the pavement in-place recycling machine, engineers can predict the precise amount of cement contents rather than using the cement content of 4.0% by mass of aggregate for every budget estimation. All sample specimens from these three methods are tested in the laboratory under the Department of Highway’s standard code of Thailand. Sieve analysis, optimum moisture content, and compressive strength are the analytical data using for optimizing the amount of cement. Based on the test results, the optimum cement contents are 3.7%, 3.6%, and 3.5% by mass aggregate for SAW, RAP, and Direct, respectively. It can be seen that all three methods result in small cement contents of 4.0% estimating from the experience. This can lead to 7.5%, 10.0%, and 12.50% decreasing in pavement recycling cost comparing between SAW, RAP, Direct, respectively, to experience. It can conclude that SM and RAP can be recommended to use for computing the suitable cement contents of pavement in-place recycling road reconstruction project for the Department of Highway of Thailand.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineกลุ่มวิชาเทคโนโลยีการจัดการงานก่อสร้าง
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf4.66 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น