กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6192
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorบรรหาญ ลิลา
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ น้อยประถม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2023-05-12T02:34:33Z
dc.date.available2023-05-12T02:34:33Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6192
dc.descriptionงานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นําเสนอการศึกษาสภาพการจราจรบริเวณสี่แยกไฟแดงดอนหัวฬ่อ อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสภาพการจราจรของการจัดการปัจจุบัน ช่วงระยะเวลาเร่งด่วนระหว่าง 6.00 -8.00 น. และ 16.00-18.00 น. ก่อนการบ่งชี้ปัญหาและกำหนดแนวทางแก้ไข้ด้วยการใช้แบบจําลองคอมพิวเตอร์เขียนด้วยโปรแกรมอารีนา การเก็บข้อมูลการใช้สี่แยกของยานพาหนะประเภทต่าง ๆ ด้วยการสังเกตภาพเคลื่อนไหวจากวิดีโอ ผลการรันแบบจําลองของสภาพปัจจุบันพบว่าจะเกิดปัญหายานพาหนะติดที่บริเวณสี่แยกในช่วงเวลาในช่วง 6.00-8.00 น. คิดเป็นระยะทางรวมเฉลี่ย 7.1 กิโลเมตร ด้วยเวลาเฉลี่ย 226.36 นาที/ คัน และในช่วงเวลา 16.00-18.00 น. 4.72 กิโลเมตร ด้วยเวลาเฉลี่ย 200.21 นาที/ คัน ซึ่งสอดคล้องกับสภาพการจราจรจริง จากการวิเคราะห์ พบว่า มีสาเหตุมาจากสัดส่วนเวลาสัญญาณไฟเขียวของแต่ละช่องทาง ไม่สอดคล้องกับปริมาณยานพาหนะ และจํานวนช่องทางการจราจรออกจากนิคมอมตะนครมุ่งหน้า ชลบุรีไม่เพียงพอ ผู้วิจัยจึงเสนอแนวทางการปรับปรุงโดยกำหนดเวลาการสัญญาณไฟเขียวให้สอดคล้องกับสัดส่วนปริมาณยานพาหนะแต่ละช่องทางและเพิ่มช่องทางการจราจรจาก นิคมอมตะนครมุ่งหน้าชลบุรีข้ามแยก จํานวน 2 ช่องทาง จากนั้นปรับแบบจําลองให้สอดคล้องกับแนวทางปรับปรุงที่เสนอ ผลลัพธ์จากการรันบ่งชี้ว่าสามารถลดปัญหายานพาหนะติดบริเวณสี่แยกได้อย่างมีนัยสําคัญ โดยช่วยให้ระยะทางที่ยานพาหนะติดเฉลี่ยลดลงเหลือ 6.27 กิโลเมตร เวลาเฉลี่ย ลดลงเหลือ 144.19นาที/ คัน ในช่วงเวลา 6.00-8.00 น. และลดลงเหลือ 2.97 กิโลเมตรด้วยเวลาเฉลี่ย ลดลงเหลือ 75.94 นาที/ คัน ในช่วงเวลา 16.00-18.00 น. จึงสามารถประเมินเป็นค่าใช้จ่ายจากการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงลดลงโดยเฉลี่ย 30,711 บาทต่อวัน หรือ 11,209,515 บาทต่อปี หากมีการดําเนินการปรับปรุงตามแนวทางที่นําเสนอนี้
dc.language.isoth
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rightsมหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.subjectจราจรในเมือง -- ไทย -- ชลบุรี
dc.titleการศึกษาปัญหาการจราจรสี่แยกไฟแดงดอนหัวฬ่อ โดยการใช้เทคนิคจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์
dc.title.alternativebThe study of trffic problems t Donhuroh intersection with computer simultion technigue
dc.typeวิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternativeThis research presents a study of traffic situation at Donhuaroh intersection, Aumphur Muang, Chonburi Province. The study aimed to evaluate the situation of traffic during the rush hour periods- between 6.00-8.00 am (morning) and 16.00-18.00 pm (evening), using the simulation technique modelled with ARENA program, before indicating problems and offering guidelines to alleviate the situation. The input information of vehicles utilizing the intersection was collected by observing of the recorded video. Result from the current situation model indicated that there were 7.10 and 4.72 kilometers, on average, of accumulated vehicles, each vehicle spent 226.36 and 200.21 minutes, on average, to get through during the 6.00-8.00 am and the 16.00-18.00 pm periods, respectively, which synchronized with the real situation. The analysis of causes was performed and it indicated that the setting of the ratios of time for the green traffic light did not match with the incoming ratios of vehicles. In addition, the number of lanes from Amata Nakhon going to Chonburi district was not sufficient. The improvement was proposed to adjust the ratios of time for the green traffic light and to construct 2 over-cross lanes from Amata Nakhon going to Chonburi. The simulation model was modified to incorporate the improvement and was run. Result of the simulation indicated that the average distance of accumulated vehicles was reduced to be 6.27 and 2.97 kilometers, the average time each vehicle spent in the traffic was reduced to be 144.19 and 75.94 minutes, during the 6.00-8.00 am and the 16.00-18.00 pm periods, respectively. This improvement could contribute in the expected of 30,711 baht/day (11,209,515 baht/year) in saving of the fuel and gas for vehicles if the proposal is implemented.
dc.degree.levelปริญญาโท
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยบูรพา
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:วิทยานิพนธ์ (Theses)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext.pdf2.08 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น