กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6190
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จักรวาล คุณะดิลก | |
dc.contributor.author | พัลลภ เคียงวงค์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2023-05-12T02:34:33Z | |
dc.date.available | 2023-05-12T02:34:33Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/6190 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (วศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2560 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการปรับปรุงคุณภาพการตรวจสอบวัตถุดิบสำหรับการผลิตรถขุดเหมืองแร่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดจำนวนวัตถุดิบที่ไม่ได้คุณภาพที่หลุดเข้าไปในกระบวนการผลิตการเก็บรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น พบว่า มีผู้ส่งมองวัตถุดิบ 9 ราย ส่งวัตถุดิบที่ไม่มีคุณภาพที่มีสัดส่วนของเสียคิดเป็น 9.76% และในจำนวนของเสียของวัตถุดิบทั้งหมดนี้มีวัตถุดิบที่ไม่ได้คุณภาพ และตรวจพบในกระบวนการผลิตประมาณ 9.3% ของปริมาณของเสียทั้งหมด การวิเคราะห์ระบบการวัด (Measurement System Analysis, MSA) ถูกนำมาใช้ในการประเมินระบบการตรวจรับวัตถุดิบในปัจจุบัน โดยทำการวิเคราะห์ความสามารถในการวัดของพนักงานตรวจสอบคุณภาพ 3 คน พบว่า พนักงานตรวจสอบคุณภาพมีความสามารถในการจำแนกของดีและของเสียต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด เมื่อพิจารณาวิธีการและสภาพแวดลอมในการตรวจรับวัตถุดิบ พบว่า ปัญหาด้านความเร่งรีบในการ ตรวจสอบวัตถุดิบให้ทันต่อความต้องการใช้งานในสายการผลิต และปัญหาด้านแสงสว่างในการตรวจสอบวัตถุดิบงานวิจัยนี้จึงได้เพิ่มแผงไฟส่องสว่าง 1 ตำแหน่ง เพื่อเพิ่มแสงสว่างในการตรวจสอบวัตถุดิบ และลดเวลาในการเคลื่อนย้ายแผงไฟส่องสว่างเดิมที่ต้องถูกเคลื่อนย้ายไปยังตำแหน่งที่ต้องการขณะตรวจสอบคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า ปริมาณวัตถุดิบที่ไม่ได้คุณภาพที่ตรวจพบในกระบวนการผลิตลดลง เหลือ 6.82% เมื่อเทียบกับประมาณของเสียทั้งหมด และเวลาการตรวจสอบวัตถุดิบ โดยเฉลี่ยลดลงประมาณ 2.29 นาทีต่อชิ้น | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | เครื่องจักรกลในอุตสาหกรรม -- การควบคุมคุณภาพ | |
dc.subject | อุตสาหกรรมเหมืองแร่ -- การควบคุมคุณภาพ | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | |
dc.subject | รถขุดเหมืองแร่ -- ชิ้นส่วน -- คุณภาพ | |
dc.title | การปรับปรุงกระบวนการตรวจรับวัตถุดิบของการผลิตรถขุดเหมืองแร่ | |
dc.title.alternative | Improving the inspection process of incoming rw mterls mining excvtor | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research addressed an improvement of raw material inspection in mining excavator manufacturer. The research objective is to reduce the number of nonconforming raw material in the production line. Quality and production reports in the past showed that nine suppliers often delivered poor quality raw material to our plant. The percentage of nonconforming raw material was 9.76%, on average of the delivered material by those suppliers. Through incoming inspection had been performed, nonconforming raw materials were found frequently in the production line. The percentage of the nonconforming raw materials found in production line was 9.3% comparing to total number of nonconforming raw materials delivered by suppliers. The Measurement System Analysis, MSA, was applied to determine the efficiency of incoming inspection process. Three incoming inspectors were assessed their abilities for sorting nonconforming material. The MSA results showed that their abilities were failed to meet assessment criteria. Measurement method and environment were evaluated to increase their abilites. The evaluation results explained that the measurement problems were two reasons. The first reason was hurried inspection causing from material requirement due date of the production line. The second reason was illumination level at the incoming inspection station. Therefore one lighting panel was added into the station for increasing the illumination level. The inspection time was consequently reduced because inspection activities were eliminated. The activities included moving inspection parts or lighting panel location in order to get enough brightness at the inspection spots. The results of this research revealed that the percentage of nonconforming raw materials found in production line was reduced to 6.82% and the average inspection time was reduced 2.29 minutes per part, approximately. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น