กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4644
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเขมญา คินิมาน-
dc.contributor.authorปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา-
dc.contributor.authorวทัญญู สุวรรณเศรษฐ-
dc.date.accessioned2022-08-08T08:55:52Z-
dc.date.available2022-08-08T08:55:52Z-
dc.date.issued2022-
dc.identifier.issn1906-9308-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4644-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา และ 2) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIEST ของแดเนียล แอล สตัฟเฟิลบีม ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ได้แก่ การวิจัยเชิงปริมาณโดยเก็บแบบสอบถามจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน นิสิตปัจจุบัน ศิษย์เก่า และผู้ใช้นายจ้างหรือหัวหน้างานของบัณฑิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษา พบว่า 1) การประเมินหลักสูตร โดยใช้ CIPPIEST Model พบว่า ด้านการประเมินบริบท การประเมินปัจจัยนำเข้า การประเมินกระบวนการ การประเมินผลผลิต การประเมินผลกระทบ การประเมินประสิทธิผล การประเมินความยั่งยืน การประเมินการถ่ายโยงความรู้ ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน 2) แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร พบว่า หลักสูตรควรเน้นให้ผู้เรียนเป็นนักปฏิบัติ (Practitioner) โดยอยู่บนพื้นฐานของทฤษฎีที่เป็นหลักพื้นฐาน ให้มีความเข้าใจ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ เน้นการพัฒนาทุนมนุษย์โดยให้ความรู้ศาสตร์ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญในหลากหลายมิติ รวมถึงทำให้ผู้เรียนเป็นผู้มีอิทธิพลทางความคิดด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD Influencer) และเป็นนวัตกร (Innovator) และข้อเสนอแนะในการปรับปรุงหลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรควรพิจารณาความสอดคล้องระหว่างปรัชญา ความสำคัญ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และรายวิชากับความต้องการของผู้เรียนและบริบทของสังคมในปัจจุบัน ความน่าสนใจและทันสมัยของเนื้อหาวิชา กระบวนการเตรียมความพร้อมให้กับนิสิตก่อนเข้าศึกษา ทรัพยากรที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และงบประมาณสนับสนุนth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการประเมินหลักสูตรth_TH
dc.subjectหลักสูตรth_TH
dc.subjectหลักสูตรth_TH
dc.titleการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the master of arts program in human resource development (Revised A.D. 2018), Faculty of Education, Burapha Universityth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue1th_TH
dc.volume13th_TH
dc.year2022th_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to evaluate the curriculum of the Master of Arts Program in Human Resource Development (Revised Curriculum, B.E. 2561 (2018)), in the Faculty of Education, Burapha University, and 2) to provide guidelines for development and improvement of the Master of Arts Program in Human Resource Development (Revised Curriculum, B.E. 2561 (2018)), in Faculty of Education, Burapha University. The researcher used CIPPIEST model of Daniel L. Stufflebeam to assess the program. In this study, the mixed method approaches were applied. For quantitative research, questionnaires were used to collect data from stakeholders comprising lecturers, current undergraduate students, alumni, and employers or supervisors of the graduate students. The data were analyzed by descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation. In qualitative research, in-depth interviews were conducted with the experts, and the data gained from such interviews were analyzed with content analysis. The results of the research suggested that: 1) based on evaluation result from CIPPIEST Model, it was found that the scores of context evaluation, input evaluation, process evaluation, product evaluation, impact evaluation, effectiveness evaluation, sustainability evaluation, and transportability evaluation were at the highest level in all aspects; 2) regarding guidelines for development and improvement of the program, it was found that the curriculum should encourage the students to be practitioner in line with the fundamental theory, and the lecturers should ensure that the students understand and can apply the knowledge to their practice, and place emphasis on human capital development by providing important HRD knowledge in various aspects, and encourage the students to be HRD influencer and innovator. Regarding suggestions for curriculum improvement, the responsible lectures should consider the correspondence between the philosophy, importance and objectives and courses of the curriculum, and needs of the students and current social context to raise the attractiveness; update the content of the course; improve the process for preparing students before participating in the course; and provide resources and financial support to facilitate the learning of the students.th_TH
dc.journalHRD journalth_TH
dc.page115-132.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
hrd13n1p115-132.pdf1.35 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น