กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4589
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorภัทราวุธ ไทยพิชิตบูรพา-
dc.contributor.authorจารุมาศ เมฆสัมพันธ์-
dc.date.accessioned2022-07-31T01:22:01Z-
dc.date.available2022-07-31T01:22:01Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4589-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะ ยูโทรฟิเคชั่นในบริเวณอ่าวตราด โดยแบ่ง การศึกษาออกเป็น 2 ฤดูกาลได้แก่ ฤดูแล้ง (เดือนมีนาคม) และฤดูฝน (เดือนกรกฎาคม) ทำการสำรวจและเก็บข้อมูลในพื้นที่อ่าวตราดทั้งสิ้น 15 สถานี ประกอบด้วยปัจจัยคุณภาพน้ำทั่วไป (อุณหภูมิ ความเค็ม และออกซิเจนละลายน้ำ) คลอโรฟิลล์-เอ แอมโมเนียม ไนไตรท์ ไนเตรท ซิลิเกต และ ออโธฟอสเฟต ผลการศึกษาพบว่าฤดูกาลมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะยูโทรฟิเคชั่นในพื้นที่อ่าวตราด ซึ่งเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของ สารอนินทรีย์ละลายน้ำในกลุ่มของไนโตรเจน และฟอสฟอรัส โดยพบว่าในช่วงฤดูฝนสารอนินทรีย์ไนโตรเจนมีค่าสูงมากเกินระดับ ยูโทรฟิเคชั่น ซึ่งทำให้ปริมาณคลอโรฟิลล์-เอ สูงตามด้วยจนทำให้เข้าสู่สภาวะ Hypertrophic (สูงกว่า eutrophic 5 เท่า) นอกจากนี้ยังพบว่า ฟอสฟอรัสจะเป็นปัจจัยจำกัดการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนพืชในช่วงฤดูฝน โดยมีสัดส่วน redfield ratio (N:P) เท่ากับ 45.7 ทั้งนี้หากมีการเพิ่มฟอสฟอรัสลงในอ่าวผ่านทางกิจกรรมการใช้ประโยชน์ต่าง ๆ บนแผ่นดินในช่วงเวลาดังกล่าว ก็จะส่งผลให้อ่าวตราดเข้าสู่สภาวะการเสื่อมโทรมของแหล่งน้ำจากการสะพรั่งของแพลงก์ตอนพืชในอนาคตได้th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพน้ำ -- ไทย -- ตราดth_TH
dc.subjectยูโทรฟิเคชันth_TH
dc.subjectสารประกอบอนินทรีย์th_TH
dc.titleอิทธิพลของสารอาหารอนินทรีย์ละลายน้ำต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะยูโทรฟิเคช่ันในบริเวณอ่าวตราด จังหวัดตราดth_TH
dc.title.alternativeThe effects of dissolved inorganic nutrients on Eutrophication situations of Trat bay, Trat provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.issue2th_TH
dc.volume26th_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to investigate the effects of dissolved inorganic nutrients on eutrophication situations of Trat Bay during 2 seasons: dry season (March) and rainy season (July). The collected water samples from 15 stations were examined for water quality factors including temperature, salinity, dissolved oxygen, chlorophyll a, ammonia, nitrite, nitrate, silicate and orthophosphate. The results showed that the seasonal factor affecting the alteration of eutrophication situations in Trat Bay was related to the changing of dissolved inorganic groups of nitrogen and phosphorus especially in the rainy season with the high amount of inorganic nitrogen. The high inorganic nitrogen exceeding the eutrophic level caused high amount of the chlorophyll-a making the Trat bay into Hypertrophic situation (higher than eutrophication by 5 times). In addition, the phosphorus concentration was the limiting factor of phytoplankton growth in the rainy season which was correlated by Redfield ratio (N:P) of 45.7. Hence, discharging of phosphorus through various activities of land utilizations resulted in degrading the Trat Bay water qualities by algal bloom.th_TH
dc.journalวารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journalth_TH
dc.page770-782.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
sci26n2p770-782.pdf710.78 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น