กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4453
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอาจณรงค์ มโนสุทธิฤทธิ์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์th
dc.date.accessioned2022-06-18T08:50:32Z
dc.date.available2022-06-18T08:50:32Z
dc.date.issued2564
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4453
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย จากเงินรายได้ส่วนงาน (เงินกองทุนวิจัยละพัฒนา) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนสำหรับครูประจำการ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และ 2) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้น โดยการวิจัยใช้รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ร่วมกับการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน (Classroom Action Research ; CAR) ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1) ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ให้ข้อมูลพื้นฐานด้านนโยบายและแนวทางการการปฏิบัติเพื่อการวิเคราะห์ความต้องการของรูปแบบฯ กลุ่มที่ 2) ผู้เชี่ยวชาญ ที่ให้ข้อมูลด้านการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ กลุ่มที่ 3) ครูและนักเรียน ในการทดลองใช้รูปแบบฯเพื่อการปรับปรุงและแก้ไขรูปแบบฯ ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนสำหรับครูประจำการ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพประกอบไปด้วย 3 ระยะ 6 ขั้นตอน คือ ระยะที่ 1 การเตรียมความพร้อมของชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Preparation: P) ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 สร้างความมั่นใจ (Trust) และ ขั้นที่ 2 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ระยะที่ 2 การเรียนรู้ผ่านโรงเรียนเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Learning in School as Learning Community: L) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 3 เลือกรูปแบบและสร้างชุมชนการเรียนรู้ ขั้นที่ 4 วิเคราะห์ความต้องการจำเป็น และ ขั้นที่ 5 ปฎิบัติตามกำหนดการ/โครงการ ระยะที่ 3 การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนร่วมกัน (Classroom Action Research : C) ประกอบด้วย 1 ขั้นตอน คือ 6. วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 2) ผลการใช้รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนสาหรับครูประจำการ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน ด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นในลักษณะนาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการสอน และ ผลการศึกษาความพึงพอใจโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.09 อยู่ในระดับมากth_TH
dc.description.sponsorshipกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการศึกษากับเทคโนโนโลยีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยี - - การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth_TH
dc.titleรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการสอนโดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน สำหรับครูประจำการด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailartnarong@buu.ac.thth_TH
dc.year2564th_TH
dc.description.abstractalternativeThis study was Research and Development with Classroom Action Research method. The main purposes of the research were to 1) to Developed Model of Teachers Development in Teaching Competencies by Technology-Based Approach for In-service Teachers with Professional Learning Community (PLC) Process 2) to study the results of Model. The samples used in this study were 1) Expert, to provide background information on the needs of the model. 2) Expert, to provide Computing Sciences teaching guideline of the model. 3)Teachers and students used to test the model. The results were that: 1) The model composed of 3 Phases and 6 steps were Phase 1 Preparation: P step 1 Build Trust and step 2 Workshop Training, Phase 2 Learning in School as Learning Community: L step 3 Choose Model and Setting PLC Team step 4 Needs Assessment step 5 Work on Tentative/ Project Phase 3 (Classroom Action Research : C) Step 6 Participatory Action Research 2) The results model as the satisfaction survey it was found that the satisfaction of teachers was good( X  4.64 )en
dc.keywordสาขาการศึกษาth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_150.pdf9.45 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น