กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4422
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorไวพจน์ กุลาชัย
dc.contributor.authorสมคิด เพชรประเสริฐ
dc.contributor.authorภัสนันท์ พ่วงเถื่อน
dc.contributor.authorเจนวิทย์ นวลแสง
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์th
dc.date.accessioned2022-06-15T08:16:07Z
dc.date.available2022-06-15T08:16:07Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4422
dc.descriptionโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไว้วางใจต่อตำรวจ การปฏิบัติตามกฎหมาย และการให้ความร่วมมือกับตำรวจ ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความไว้วางใจตำรวจ และผลกระทบของความไว้วางใจตำรวจต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและการให้ความร่วมมือกับตำรวจของภาคประชาชน คณะผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นประชาชนในภาคตะวันออกที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป จำนวน 971 คน ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน หลังจากนั้น จึงทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยเทคนิคการวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความไว้วางใจต่อตำรวจ การปฏิบัติตามกฎหมาย และการให้ความร่วมมือกับตำรวจอยู่ในระดับสูง ส่วนปัจจัยที่ส่งผลต่อความไว้วางใจตำรวจประกอบด้วย ประสิทธิภาพการทำงานของตำรวจ ความยุติธรรม และความหวาดกลัวอาชญากรรมตามลำดับ ส่วนการคอร์รัปชันและการตกเป็นเหยื่ออาชญากรรมไม่มีอิทธิพลต่อความไว้วางใจตำรวจแต่อย่างใด นอกจากนั้น ผลการศึกษายังพบว่า ความไว้วางใจตำรวจมีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและการให้ความร่วมมือกับตำรวจตามลำดับ ซึ่งผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการไว้ในรายงานฉบับนี้แล้วth_TH
dc.description.sponsorshipคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectตำรวจ - - การปฏิบัติหน้าที่th_TH
dc.subjectตำรวจ - - ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleต้นเหตุแห่งความไว้วางใจตำรวจและผลกระทบต่อการปฏิบัติตามกฎหมายและการให้ความร่วมมือกับตำรวจth_TH
dc.title.alternativeAntecedents of trust in police and its impacts on legal compliance and cooperation with policeen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailwaiphot@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailsomkid@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailpassanan@buu.ac.thth_TH
dc.author.emailjanewit@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to examine (1) trust in police, legal compliance, and cooperation with police (2) factors influencing trust in police and (3) the impact of trust in police on legal compliance and cooperation with police. Questionnaire was employed to collect the data. The respondents were 971 people whose age is 20 years old and older living in the Eastern region. Multi-stage sampling was employed in this study. The data were analyzed using structural equation modeling (SEM). Findings showed that the respondents had quite high level of trust in police, cooperation with police, and legal compliance. There were three factors influencing trust in police which are police performance, fairness, and fear of crime in that order. However, corruption and victimization had no influence on trust in police. In addition, the findings revealed that trust in police has a positive impact on legal compliance and cooperation with police respectively. Several policy and practical implications of the findings that may extend our knowledge on this topic are noted.en
dc.keywordสาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2565_119.pdf2.95 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น