กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4324
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | จตุภัทร เมฆพายัพ | |
dc.contributor.author | กิดาการ สายธนู | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2022-04-29T08:09:39Z | |
dc.date.available | 2022-04-29T08:09:39Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4324 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้เป็นการประเมินค่าทางเคมีกายภาพของพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ของประเทศไทย จำนวน 72 พันธุ์ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์หลายตัวแปร ตัวแปรแสดงคุณลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สีเปลือกเมล็ด สีข้าวกล้อง รูปร่างเมล็ดข้าวกล้อง การเป็นท้องไข่ ความยาวเมล็ดเปลือกข้าว ความกว้างเมล็ดเปลือกข้าว ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง และความกว้างเมล็ดข้าวกล้อง และตัวแปรแสดงคุณสมบัติทางเคมี ได้แก่ ปริมาณอมิโลส และอัตราการยืดตัวของเมล็ดข้าว เป็นตัวแปรซึ่งถูกใช้เพื่อกำหนดรูปแบบและจัดกลุ่มพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ของประเทศไทย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าเมล็ดเปลือกข้าวของพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ของประเทศไทยมีลักษณะยาว ข้าวกล้องมีลักษณะเมล็ดที่มีความยาวและความกว้างปานกลาง ในขณะที่มีปริมาณอมิโลสปานกลาง โดยมีลักษณะข้าวสุกค่อนข้างร่วนไม่แข็ง ส่วนผลการจัดกลุ่มพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ด้วยการวิเคราะห์แบ่งกลุ่มตามลำดับขั้น พบว่าสามารถจัดกลุ่มพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ ได้เป็น 2 กลุ่ม ซึ่งพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ทั้ง 2 กลุ่มมีคุณลักษณะทางกายภาพเหมือนกัน แต่มีคุณสมบัติทางเคมีที่แตกต่างกันในเรื่องของปริมาณอมิโลส นอกจากนี้สถิติโฮเทลลิงทีสแควร์ยังยืนยันด้วยอีกว่าพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ที่จัดได้ทั้ง 2 กลุ่มมีความแตกต่างกัน | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ข้าว -- พันธุ์พื้นเมือง | th_TH |
dc.title | การใช้เทคนิคการวิเคราะห์หลายตัวแปรสำหรับการประเมินค่าทางเคมีกายภาพของพันธุ์ข้าวพื้นเมืองภาคใต้ของประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Using multivariate analysis technique for physicochemical assessment of indigenous rice varieties of southern Thailand | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | jatupat@buu.ac.th | th_TH |
dc.author.email | ksaithan@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research studied the physicochemical assessment of 72 indigenous rice varieties of southern Thailand by using multivariate technique. The physical characteristics (hull color, brown rice color, brown rice shape, chalky grain, grain length, grain breadth, brown rice length and brown rice breadth) and chemical properties (amylose content and elongation ratio) were two variables evaluated to determine the typical pattern and classify the groups of indigenous rice varieties of southern Thailand. The research results indicate that the grain characteristics of indigenous rice varieties of southern Thailand is long and the brown rice length and width are medium while the amylose content is medium so it produces a soft cooking. The indigenous rice varieties of southern Thailand are divided into 2 groups with hierarchical cluster analysis. Both clusters are the same of physical characteristics but the chemical properties are distinct only in the issue of amylose content. Furthermore, the Hotelling’s T2 statistic also confirms that these two obtained clusters are significantly different. | en |
dc.keyword | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2565_032.pdf | 1.62 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น