กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4027
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ธนิต โตอดิเทพย์ | |
dc.contributor.author | สกุล อ้นมา | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2021-04-13T04:50:19Z | |
dc.date.available | 2021-04-13T04:50:19Z | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4027 | |
dc.description | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาเรื่อง “รูปแบบของการสร้างฉันทามติชุมชนเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนผ่าน กระบวนการและรูปแบบของการสร้างฉันทามติของชุมชนในพื้นที่อุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบว่า พัฒนาการของชุมชนอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยองสามารถแบ่งออกเป็นสองช่วงใหญ่ ๆ คือ การผลิตแบบดั้งเดิมเป็นผลิตโดยอาศัยวัตถุดิบทางเกษตรให้เป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปอย่างง่าย ภายหลังการสร้างถนนสุขุมวิทชุมชนเริ่มมีการปรับเปลี่ยนเข้าสู่การผลิตแบบใหม่ควบคู่ไปกับการผลิตแบบดั้งเดิม ชุมชนในยุคของการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกที่ไม่สัมพันธ์อยู่กับเกี่ยวภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในท้องถิ่น เนื่องจากเป็นการขับเคลื่อนของกลุ่มทุนหลักสามกลุ่มคือ กลุ่มรัฐ กลุ่มนายทุนต่างชาติและกลุ่มนายทุนชาติ รูปแบบและกระบวนการสร้างฉันทามติควรประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทในการกำหนดและวางแผนทางด้านเศรษฐกิจ ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านสังคม หน่วยงานภาคเอกชนจะต้องมีบทบาทในการวางแผนการดำเนินกิจกรรมการประกอบการของตนให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการมีความรับผิดชอบต่อสังคมและภาคประชาชนจะต้องมีพื้นที่สาธารณะเพื่อเปิดโอกาสให้ได้แสดงความคิดเห็น และเจตจำนงความต้องการขั้นพื้นฐานเพื่อการอยู่ร่วมกันทางสังคม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | อุตสาหกรรม - - การพัฒนา | th_TH |
dc.subject | ชายฝั่งทะเลตะวันออก - - ไทย - - การพัฒนา | th_TH |
dc.subject | ชายฝั่ง - - ไทย - - ระยอง | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | รูปแบบของการสร้างฉันทามติชุมชนเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง | th_TH |
dc.title.alternative | Forming of consensus-building in Map Ta Put Community Industrials Area Rayong Province | en |
dc.type | Research | th_TH |
dc.author.email | tanit_ryu@hotmail.com | th_TH |
dc.author.email | sakunkorn07@gmail.com | th_TH |
dc.year | 2561 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research entitled “Forming of Consensus – Building in Map Ta Put Community Industrials Area Rayong Province.” Aims to study the changing ,the procession through the forming consensus – building in community industrials in Rayong province. The method of this study was a qualitative The study revealed that the evolutions of community can be separated into 2 phase. The first phase was primitive of production which their used raw agricultural materials to simple instant product after the arrival of Sukumwit Road has changed the community to the new production with traditional production. The second phase community in the age of development under Eastern Seaboard Development Program that are not related to the locals agricultural and industrial because it is driven by the triple capital groups as state, international and national capitalist. The forming and process of consensus building consists of three parts. First the government agencies that determining and planning economic, environment and society. Second the private sector must have a role play in planning their own business to be eco friendly and corporate social responsibility and the public sector must have a public sphere to expressing of opinion, comment and needs through the social coexistence building. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2564_190.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น