กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4012
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | กุหลาบ รัตนสัจธรรม | |
dc.contributor.author | วิไล รัตนสัจธรรม | |
dc.date.accessioned | 2021-02-09T06:19:30Z | |
dc.date.available | 2021-02-09T06:19:30Z | |
dc.date.issued | 2542 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4012 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยประยุกต์ในแนวทางการวิจัยเชิงคาดคะเน เพื่อศึกษาหาตัวแปรทำนายการป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มตัวอย่างเป็นคนงาน ในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก จำนวน 1,079 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และผ่านการทดลองใช้มาแล้ว ได้ค่าความเที่ยงของตัวแปรต่าง ๆ อยู่ระหว่าง .69-.86 หลังจากเก็บข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน อัตราส่วน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอนได้ผลการวิจัยดังนี้ตัวแปรที่สำคัญที่มีส่วนทำนายเกือบทุกพฤติกรรม คือ หน่วยงานมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและจัดตรวจสุขภาพ การฟังรายการเกี่ยวกับสุขภาพ สถานภาพสมรส และความพอใจที่ได้ทำงานในหน่วยงานนี้และพบว่าสมการทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพที่สามารถทำนายได้ มากกว่าร้อยละ 10 มีดังนี้คือ1. ตัวแปรทำนายพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุจากการขับขี่รถ ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 13.57 สามารถเขียนเป็นสมการทำนายได้ดังนี้ คือ X1 = 5.938 - .496 (ดื่มเบียร์ไทยเกิน 2 แก้ว ) + .051 (อายุ) + .271 (หน่วยงานมีการจัดตรวจสุขภาพ) + .00004 (รายได้) + .211 (หัวหน้างานพูดเตือนเรื่องสุขภาพ) -.249 (เพื่อนร่วมงานมีอาการเจ็บป่วยบ่อย) -.175 (สูบบุหรี่มากกว่า 10 มวนต่อวัน) + .386 (สถานภาพสมรสคู่)2. ตัวแปรทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคการตรวจสุขภาพ ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 25.19 สามารถเขียนเป็นสมการทำนายได้ดังนี้คือ X2 = -2.940 + 1.145 (หน่วยงานมีการจัดตรวจสุขภาพ) + .071 (อายุ) + .00006 (รายได้) + .414 (พอใจที่ได้ทำงานใหม่ในหน่วยงานนี้) + .422 (ฟังรายการเกี่ยวกับสุขภาพ) + .781 (สถานภาพสมรสคู่) + .617 (มีเพศสัมพันธ์กับหญิงอาชีพพิเศษโดยไม่สวมถุงยางอนามัย)3. ตัวแปรทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคโดยรวม ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 25.61 สามารถเขียนเป็นสมการทำนายได้ดังนี้ คือ X3 = 7.783 + 1.345 (หน่วยงานมีการจัดตรวจสุขภาพ) + .104 (อายุ) + .908 (เคยฟังการเกี่ยวกับสุขภาพ) + 1.712 (สถานภาพสมรสคู่) + .00009 (รายได้ + .867 (หน่วยงานมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ) + .482 (การมีความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวัน) - .395 (รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง) + .406 (มีคนในครอบครัวเตือนเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพ)4. ตัวแปรทำนายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการพักผ่อน ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 11.95 สามารถเขียนเป็นสมการทำนายได้ดังนี้คือ X4 = 1.700 + .426 (การมีเวลาเพียงพอที่จะทำสิ่งที่ปรารถนาในชีวิต) + 1.104 (สถานภาพสมรสคู่) + .342 (มีคนสามารถพึ่งพอได้) + .399 (พอใจที่ได้ทำงานในหน่วยงานนี้ + .373 (สามารถควบคุมการใช้เวลา) - .172 (การทำงานเร่งรีบฯ) + .189 (คนในครอบครัวเตือนเรื่องสุขภาพ)5. ตัวแปรทำนายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการออกกำลังกาย ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 12.81 สามารถเขียนเป็นสมการทำนายได้ดังนี้ คือ X5 = .407 - .913 (เพศ) + .168 (หัวหน้างานพูดเตือนเรื่องสุขภาพ) + .304 (เคยฟังรายการเกี่ยวกับสุขภาพ) + .232 (ดื่มเบียร์ไทยเกิน 2 แก้ว) + .200 (เพื่อนบ้านเคยเตือนเรื่องสุขภาพ) + .184 (หน่วยงานมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ) + .221 (หัวหน้างานให้การยอมรับ6. ตัวแปรทำนายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยรวม ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 18.30 สามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ คือ X6 = 13.040 + .684 (พอใจที่ได้ทำงานในหน่วยงานนี้) + .685 (มีเวลาเพียงพอที่จะทำสิ่งปรารถนาในชีวิต) - .820 (นอนน้อยกว่า 6 ชั่วโมง) + .696 (หน่วยงานมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ) + .756 (คนในครอบครัวรักใคร่ผูกพันกัน) + .628 (รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง) + .789 (มีคนคอยปลอบใจ) - .820 (ระดับการศึกษา) + .721 (เคยฟังรายการเกี่ยวกับสุขภาพ) - .931 (สามารถควบคุมการใช้เวลา) - .910 (เพศ) + .853 (สถานภาพสมรสคู่) และนอกจากนี้ยังพบตัวแปรจัดกลุ่ม ที่สามารถทำนายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยรวม ที่สามารถทำนายได้ร้อยละ 10.94 สามารถเขียนเป็นสมการทำนายได้ดังนี้ คือ X1 = 10.450 + .328 (ความพึงพอใจในการทำงานและดำรงชีวิต) + .114 (การสนับสนุนทางสังคม) - .199 (ภาวะความเครียด)ดังนั้นควรมีมาตรการในการสนับสนุนโรงงานอุตสาหกรรมทุกแห่งจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และจัดตรวจสุขภาพ จัดรายการเกี่ยวกับสุขภาพ และสร้างบรรยากาศในการทำงานให้เกิดความพอใจที่ได้ทำงานในหน่วยงาน ซึ่งจะช่วยให้คนงานมีการป้องกันโรค และส่งเสริมสุขภาพดีขึ้น | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | โรค - - การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | โรงงาน - - มาตรการความปลอดภัย - - ไทย (ภาคตะวันออก) | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ | th_TH |
dc.title | ตัวแปรการทำนายการป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพคนงานในโรงงานอุตสาหกรรมภาคตะวันออก | th_TH |
dc.title.alternative | Predictable Factors Toward Disease Prevention and Health Promotion of Industrial Workers in Eastern Region | th_TH |
dc.type | Research | th_TH |
dc.year | 2542 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study is an applied prediction research and the purpose is to predict disease prevention and health promotion trends of industrial workers. The sample consisted of 1079 workers random from factories in each province. The research instrument was questionnaires which content validity and try out result are shown in acceptable manners. The reliability of all variables is between .69-.86. The analysis of data was done by using frequency, percentage, mean, standard deviation, ratio, min-max, correlation coefficient and stepwise regression analysis. It was found that the majority of the workers' behaviors toward disease prevention and health promotion were rather high 48.5 and 52.1 percent respectively. There were four significant variable that could predict almost every behavior of the workers : health promotion and physical examination activities given by the workplace, workplace satisfaction , receive health message form radio, and marital status. The variables that could make prediction each behavior more than 10 percent were :1. Predictable factors toward prevention of accident from driving could make prediction at 13.57 percent and the regression equation was X1 = 5.938 - .496 (drinking Thai-beer more than 2 glasses / dayX + .051 (age) + .271 (physical examination activities given by the workplace) + .00004 (income) + .211 (supervisor's warning about health) - .249 (illness of co-workers) - .175 (smoking >10 cigrettes/day) + .386 (marital status).2. Predictable factors toward disease prevention by physical examination could make prediction at 25.19 percent and the regression equation was X2 = .2.940 + 1.145 (physical examination activities given by the workplace) + .071 (age) + .00006 (income) + .414 (workplace satisfaction) + .422 (receive health message form radio) + .781 (marital status) + .617 (sexual intercourse with prostitute without using condom). 3. Predictable factors toward disease prevention in total picture could make prediction at 25.61 percent and the regression equation was x3 = 7.783 + 1.345 (physical examination actitities given by the rorkplace) + .104 (age) + .908 (receive health messages from radio) + 1.712 (marital status) + .00009 (income) + .687 (health promotion activities given by the work place) + .482 (enjoy daily living) - .395 (consume high fat meal) + .406 family members warning about health).4. Predictable factors toward health promotion by relaxation could make prediction at 11.95 percent and the regression equation was X4 = 1.700 + .426 (enouth time for desirable life) + 1.104 (marial status) + .342 (having dependable person) + .399 (workplace satisfaction) + .373 (time management ) - .172 (hurried job or many jobs at the same time) + .189 (family members warning about health).5. Predictable factors toward health promotion behavior in exercise could make prediction at 12.81 percent and the regression equation was X5 = .407 - .913(sex) + .168 (supervisor's warning about health matters) + .304 (receive health messages from radio) + .232 (drinking Thai-beer more than 2 glasses / day) + .200 (neighbors warining about health) + .184 (health promotion activities by the workplace) + .221 (acaceptation from supervisor).6. Predictable factors toward health promotion behavior in total picture could make prediction at 18.30 percent and the regression equation was X6 = 13.040 + .684 (workplace satisfaction) + .685 (enough time for desirable life) - .820 (sleep less than 6 hours) + .696 (health promotion activities given by the workplace) + .756 (good family relationship) + .628 (consume high fat meat) + .789 (someone to console) - .820 (education backgroup) + .721 (receive health message form radio) - .631 (time management) - .910 (sex) + .853 (marital status) . Besides , it was found that the group variable that could make prediction toward health promotion behavior in total picture at 10.94 percent and the regression equaltion was X7 = 10.450 + .328 (job satisfaction and enjoy living) + .114 (social support) - .199 (stress codition).Therefore, it is recommended that the encouragement and promotion of the mentioned activities should be employed in every factory. Moreover, the working environment which can increase job satisfaction is also a key to success for disease prevention and health promotion of industrial workers. | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2542_004.pdf | 7.4 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น