กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3856
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorไพทูล แก้วหอม
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. คณะเทคโนโลยีการเกษตร
dc.date.accessioned2020-04-08T02:36:44Z
dc.date.available2020-04-08T02:36:44Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3856
dc.description.abstractชานอ้อยเป็นเศษเหลือจากอุตสาหกรรมโรงงานน้ำตาลชนิดหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ เป็นอาหารสัตว์ได้ อย่างไรก็ตามก่อนการนำชานอ้อยมาใช้เป็นอาหารสัตว์นั้นชานอ้อยจำเป็นต้อง ได้รับการปรับปรุงคุณภาพเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนะเสียก่อน วัตถุประสงค์ของการทดลองในครั้งนี้คือ 1) ศึกษาคุณค่าทางโภชนะของชานอ้อย 2) ศึกษาการเจริญเติบโตของเชื้อ Saccharomyces cerevisae ในอาหารเลี้ยงเชื้อ YPD และน้ำสับปะรด และ 3) ศึกษาวิธีการปรับปรุงคุณภาพของชาน อ้อย โดยสุ่มเก็บตัวอย่างชานอ้อยในจังหวัดสระแก้ว 10 ตัวอย่าง แล้วนำมาวิเคราะห์ค่าโภชนะและ ศึกษาปัจจัย 2 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีการปรับปรุงคุณภาพของชานอ้อยต่อคุณค่าทางโภชนะ โดยวาง แผนการทดลองแบบ 2 x 5 Factorial บนการสุ่มแบบสมบูรณ์ โดยเก็บชานอ้อยหมัก 2 ซ้ำต่อครั้ง ผล การทดลองพบว่าค่าร้อยละเฉลี่ยของค่าโภชนะวัตถุแห้ง ความชื้น โปรตีนหยาบ ไขมัน เถ้า เยื่อใย หยาบ คาร์โบไฮเดรตที่ย่อยได้ง่าย ผนังเซลล์ ลิกโนเซลลูโลส ลิกนิน เฮมิเซลลูโลส เซลลูโลส แคลเซียม ฟอสฟอรัส และค่าพลังงานทั้งหมด (GE; kcal/kg) ของตัวอย่างชานอ้อย มีค่าเท่ากับ 92.80 7.20 1.18 0.35 2.95 42.02 46.30 84.27 59.53 11.29 24.74 48.25 0.216 0.030 และ 4026.24 ตามลำดับ และค่าโภชนะของชานอ้อยจากการสุ่มเก็บตัวอย่างในจังหวัดสระแก้ว 10 ตัวอย่าง ไม่มี ความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) สำหรับการทดสอบเชื้อ Saccharomyces cerevisae ใน อาหารเลี้ยงเชื้อ YPD และน้ำสับปะรด พบว่าเชื้อ S. cerevisae สามารถเจริญเติบโตในน้ำสับปะรด ได้ดีกว่าใช้อาหารเลี้ยงเชื้อที่เป็น YPD อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และปัจจัยด้านการใช้น้ำ และกากน้ำตาลในการหมักชานอ้อยด้วยยีสต์ (การใช้น้ำอย่างเดียว และการใช้น้ำร่วมกับกากน้ำตาล 5%) และปัจจัยด้านระยะเวลาในการหมัก (1 7 14 21 และ 28 วัน) ซึ่งพบว่ากลุ่มที่ใช้น้ำร่วมกับ กากน้ำตาล 5% ให้ผลค่าโภชนะที่ดีกว่ากลุ่มที่ใช้เพียงน้ำอย่างเดียวในการหมักชานอ้อยอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และระยะเวลาที่เริ่มพบค่าโภชนะที่แตกต่างกันคือในวันที่ 7 โดยเฉพาะ ค่าโปรตีนหยาบที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.01) นอกจากนี้ยังพบว่าปฏิสัมพันธ์ร่วม ของทั้งสองปัจจัยมีผลต่อค่าโภชนะโปรตีนหยาบ เถ้า เยื่อใยหยาบ ผนังเซลล์ทั้งหมด ลิกโนเซลลูโลส และพลังงานทั้งหมด เช่นกัน ดังนั้นมีความเป็นไปได้ที่จะใช้ชานอ้อยหมักเป็นอีกหนึ่งทางเลือกเพื่อ ทดแทนอาหารสำเร็จรูปในสัดส่วนที่เหมาะสมในการผลิตสัตว์ปีกหรือสัตว์เคี้ยวเอื้องต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้วth_TH
dc.subjectชานอ้อยth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.subjectชานอ้อยth_TH
dc.titleการพัฒนาอาหารไก่ไข่จากชานอ้อยวัสดุเศษเหลือจากโรงงานผลิตน้ำตาลth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of layer chicken diet from sugarcane bagasse as waste from sugar millen
dc.typeResearchth_TH
dc.author.emailpaitoon_k@buu.ac.thth_TH
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeSugarcane bagasse is waste from one type of sugar mill industry that can be utilized as animal feed. However, before using sugarcane bagasse as animal feed, quality improvement was needed to increase nutritional value. The objectives of this experiment were 1) study on the nutritional value of bagasse, 2) study on the growth of Saccharomyces cerevisae in YPD media and pineapple juice and 3) study on methods for improving the quality of sugarcane bagasse. Sugarcane bagasse samples were randomly collected in 10 samples from Sa Kaeo province, and then analyzed for nutrient values and studied 2 factors related to the method of improving sugarcane bagasse quality on nutrients. The fermented sugarcane bagasse was used in a factorial arrangement (2x5) based on a completely randomized design with 2 replicate of collection each time. The results demonstrated that the average percentage of dry matter, moisture, crude protein, ether extract, ash, crude fiber, nitrogen free extract, neutral detergent fiber, acid detergent fiber, lignin, hemicellulose, cellulose, calcium, phosphorus and gross energy (kcal/kg) was 92.80, 7.20, 1.18, 0.35, 2.95, 42.02, 46.30, 84.27, 59.53, 11.29, 24.74, 48.25, 0.216, 0.030 and 4026.24, respectively. In addition, it was found that the nutrient values of sugarcane bagasse from 10 samples collected in Sa Kaeo province were not statistically different (P> 0.05). For testing Saccharomyces cerevisae in YPD and pineapple juice media showed that S. cerevisae can grow in pineapple juice better than using culture media with YPD statistically significant (P <0.05). The water and molasses factors for sugarcane bagasse fermentation using yeast (water use only and water usage with 5% molasses), and the factors of the duration of fermentation (1 7 14 21 and 28 days) found that the group that used water with 5% molasses gave a better nutritional value than those that used only water for sugarcane bagasse fermentation with statistical significance (P <0.05). The time period for finding the different nutritional values was found on the 7th day, especially the crude protein value which increased significantly (P<0.01). In addition, it was found that the interaction of these two factors affected the nutritional value of crude protein, ash, crude fiber, neutral detergent fiber, acid detergent fiber, and gross energy as well. Therefore, it is possible IV to use fermented sugarcane bagasse as an alternative to replace the completed feed in an appropriate proportion in the poultry or ruminant production.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2564_005.pdf2.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น