กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3641
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | เบญจวรรณ ชิวปรีชา | |
dc.contributor.author | นภา ตั้งเตรียมจิตมั่น | |
dc.contributor.author | เกศราภรณ์ จันทร์ประเสริฐ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-07-22T07:04:39Z | |
dc.date.available | 2019-07-22T07:04:39Z | |
dc.date.issued | 2562 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3641 | |
dc.description.abstract | การเปรียบเทียบสมบัติบางประการของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในระยะแตกกอ และระยะข้าวสร้าง ดอกอ่อน จากนาข้าวอินทรีย์และนาข้าวใช้สารเคมี ทำการเก็บตัวอย่างจากนาข้าว ต.หนองแสง อ.ปากพลี จ.นครนายก ในข้าวนาปี 2 ฤดูกาล ระหว่างตุลาคม 2560 ถึงธันวาคม 2561 โดยมีจุดประสงค์ ศึกษาลักษณะทางกายวิภาคของใบและรากของต้นข้าว ปริมาณคลอโรฟิลล์รวม รวมทั้งคุณภาพเมล็ดข้าว โดยการรักษาสภาพเนื้อเยื่อและตัดด้วยกรรมวิธีพาราฟีน วิเคราะห์อะไมโลส โดยดัดแปลงจากวิธีของ กรมการข้าว วัดขนาดและหาน้ำหนักเมล็ด โดยเทียบค่ากับ มกษ. 4000-2560 ผลการศึกษาพบว่าต้นข้าว จากนาเคมี มีความหนาของแผ่นใบในระยะแตกกอ ในขณะที่ความหนาแน่นของปากใบ และความกว้างของ bulliform cell ในระยะข้าวสร้างดอกอ่อน สูงกว่าต้นข้าวจากนาอินทรีย์ ต้นข้าวจากนาอินทรีย์มีความกว้างของ bulliform cell ในระยะข้าวแตกกอ ความยาวของ bulliform cell ในระยะข้าวสร้างดอกอ่อน และเส้นผ่านศูนย์กลาง meta xylem vessel ในรากทั้ง 2 ระยะการเจริญเติบโตสูงกว่าข้าวเคมี อย่างไรก็ ตามผลการทดลองพบว่าปริมาณคลอโรฟิลล์รวม ความหนาแผ่นใบในระยะข้าวสร้างดอกอ่อน ความยาว ของปากใบ รวมถึงคุณภาพเมล็ดข้าว ได้แก่ ขนาดเมล็ด รูปร่างเมล็ด และปริมาณอะไมโลส ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ เมล็ดข้าวสารจัดอยู่ในชั้นเมล็ดยาว รูปร่างเรียว อะไมโลสต่ า ทั้งนี้ไม่พบสารตกค้าง กลุ่มออร์กาโนฟอสฟอรัสและคาร์บาเมทในข้าวทั้ง 2 กรรมวิธีปลูก ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าข้าวอินทรีย์จากกลุ่มเกษตรกร บ้านหนองแสง ต.ปากพลี จ. นครนายก มี คุณภาพผลผลิตตรงตามความตามมาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ. 4000-2560 ข้าวหอมมะลิไทย | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ข้าวขาวดอกมะลิ 105 | th_TH |
dc.subject | ข้าว - - กายวิภาค | th_TH |
dc.subject | คลอโรฟิลล์ | th_TH |
dc.subject | อะไมเลส | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.title | เปรียบเทียบสมบัติบางประการของข้าว จากนาข้าวอินทรีย์ และนาข้าวใช้สารเคมี | th_TH |
dc.title.alternative | A comparison of some rice properties from organic and conventional rice paddy fields | en |
dc.type | Research | en |
dc.author.email | napa@buu.ac.th | |
dc.author.email | benchawon@buu.ac.th | |
dc.author.email | janprasert10@hotmail.com | |
dc.year | 2562 | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Some properties of Khao Dawk Mali 105 rice between organic and conventional rice in tiller and panicle initiation stages were compared. Two wet-season rice were collected from Nongseang subdistrict, Pakplee district, Nakhonnayok province paddy field during October 2017 to December 2018. The objective were to studied leaf and root anatomical, leaf total chlorophyll content and rice grains quality. The specimens were fixed and sectioned by paraffin methods. Rice department methods were modified for amylose analysis. Rice grains length and weight were observed follow by TAS 4000-2017. The results showed that conventional rice in tiller stage higher leaf thickness. Whereas, stomatal density and bulliform cell width higher in panicle initiation stages than organic rice. But, organic rice bulliform cell width in tiller stage, bulliform cell length in panicle initiation stages and root meta xylem vessel in both stage higher than conventional rice. However, the experiment results of total chlorophyll, leaf thickness in panicle initiation stages, stomatal length and rice grains quality such as, size, shaped and amylose content were not significanlly difference. The rice grains class were long grains, slim shaped and low amylose. In addition, organophosphorus and carbamate were not found in both crops. The results indicate that organic rice from Nongseang subdistrict, Pakplee district, Nakhonnayok province, farmers group have quality under Thai Agricultural Standard (TAS 4000-2017) Thai Hom Mali rice | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2563_131.pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น