กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3640
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย
dc.contributor.authorสุบัณฑิต นิ่มรัตน์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-07-22T04:57:15Z
dc.date.available2019-07-22T04:57:15Z
dc.date.issued2562
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3640
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาสูตรอาหารเม็ดสำหรับการเลี้ยงปลานิลด้วยแนวทางการศึกษาประสิทธิภาพการย่อยอาหาร ได้ศึกษากิจกรรมของเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์ไคโมทริปซินในปลานิลเพื่อหาอุณหภูมิและอายุที่เหมาะสมต่อการทำงานของเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์ไคโมทริปซินของปลานิล โดยทำการสกัดเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์ไคโมทริปซินจากลำไส้ของปลานิลที่มีอายุระหว่าง 45 ถึง 150 วัน และประเมินการทำงานของเอนไซม์ทริปซิน และเอนไซม์ไคโมทริปซินทุก ๆ 15 วัน โดยใช้สับสเตรต benzoyl-L-arginine-p-nitroanilide และ N-succinyl-Ala-Ala-Pro-phe-p-nitroanilide ตามลำดับ และศึกษากิจกรรมของเอนไซม์ทริปซิน และเอนไซม์ไคโมทริปซินที่อุณหภูมิระหว่าง 30-70 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิ 20-60 องศาเซลเซียสตามลำดับก่อนการประเมินแอคติวิตีจาเพาะของเอนไซม์ทริปซิน และเอนไซม์ไคโมทริปซิน ผลจากการศึกษาในปีแรกของโครงการ พบว่า การทำงานของเอนไซม์ทริปซินและเอนไซม์ไคโมทริปซินของปลานิล มีค่าเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิที่ทาการทดสอบ และอายุของปลานิล โดยกิจกรรมของเอนไซม์ทริปซินมีค่าสูงสุดที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส และเมื่อปลามีอายุ 105 วัน ในขณะที่กิจกรรมของเอนไซม์ไคโมทริปซินมีค่าสูงสุดเมื่อปลามีอายุ 120 วัน โดยที่กิจกรรมของเอนไซม์ไคโมทริปซินไม่ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิที่ทดสอบth_TH
dc.description.sponsorshipได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectปลานิลth_TH
dc.subjectเอนไซม์ทริปซินth_TH
dc.subjectเอนไซม์ไคโมทริปซินth_TH
dc.subjectกิจกรรมเอนไซม์th_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleการพัฒนาสูตรอาหารเม็ดสำหรับการเลี้ยงปลานิลด้วยแนวทางการศึกษาประสิทธิภาพการย่อยอาหารth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of tilapia (Oreochromis niloticus) diet based on digestibility approachen
dc.typeResearchen
dc.author.emailverapong@buu.ac.th
dc.author.emailsubunti@buu.ac.th
dc.year2562th_TH
dc.description.abstractalternativeThe research project entitled “Development of tilapia (Oreochromis niloticus) diet based on digestibility approach” was aimed to determine enzyme activities of trypsin and chymotrypsin of tilapia based on evaluation the effects of fish age and temperatures on enzyme activities of trypsin and chymotrypsin. Crude enzymes were extracted from the intestine of tilapia every 15 days during a fish culture period between 45-150 days. Assessments of trypsin activity and chymotrypsin activity were determined with the substrates mamely, benzoyl-L-arginine-p-nitroanilide and N-succinyl-Ala-Ala-Prophe-p-nitroanilide, respectively, under a wide range of tested temperatures from 30-70˚C and 20-60˚C, respectively prior to calculation of specific enzymes activities of trypsin and chymotrypsin. Results in the first year of study showed that trypsin and chymotrypsin activities were increased with the tested temperatures and fish age. Highest trypsin activities were observed at 70˚C when fish age was 105 days. Highest chymotrypsin activities were detected when fish age was 120 days despite non-significant differences in chymotrypsin activities within tested temperaturesen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_130.pdf720.46 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น