กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/358
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิชญา กันบัว | th |
dc.contributor.author | คเชนทร เฉลิมวัฒน์ | th |
dc.contributor.author | บัลลังก์ เนื่องแสง | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T08:47:29Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T08:47:29Z | |
dc.date.issued | 2542 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/358 | |
dc.description.abstract | การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาของประชากรหอยแมลงภู่ (Perna viridis) บริเวณแหล่งเลี้ยง ตำบลอ่างศิลา จังหวัดชลบุรี ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2542 ถึงเดือนสิงหาคม 2543 โดยการปักหลักไม้ไผ่ พบการเติบโตของหอยแมลงภู่ส่วนกลางของหลักมีความยาวและอัตราการเติบโตสูงกว่าหอยแมลงภู่ที่อยู่ส่วนล่างและส่วนบนของหลักไม้ไผ่ ตามลำดับ อัตราส่วนของหอยแมลงภู่ตั้งแต่หอยแมลงภู่มีอายุ 3 เดือน ถึง 11 เดือน มีแนวโน้มว่าหอยแมลงภู่สามารถแยกเพศได้ชัดเจนเมื่อหอยแมลงภู่มีอายุ 3 เดือนขึ้นไป และมีช่วงระยะที่มีเซลสืบพันธุ์สมบูรณ์เต็มที่ เมื่ออายุ 4 เดือน โดยช่วงระยะที่หอยแมลงภู่มีความสมบูรณ์เพศเต็มที่มี 2 ช่วงคือ ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ กับช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม อุณหภูมิและความเค็มที่มีผลต่อการเติบโตของหอยแมลงภู่ ส่วนปริมาณออกซิเจนจนละลายน้ำและความขุ่นใสมีผลต่อปริมาณแพลงก์ตอนที่เป็นอาหารของหอยแมลงภู่ หาน้ำในแหล่งเลี้ยงหอยมีความขุ่นมากจะเป็นตัวกั้นแสง ทำให้ปริมาณแพลงก์ตอนพืชและปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำลดลง ส่งผลให้หอยแมลงภู่เติบโตช้าลง | th_TH |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนการทำวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2542 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา | th_TH |
dc.subject | หอยแมลงภู่ - - การเจริญเติบโต - - อ่างศิลา (ชลบุรี) | th_TH |
dc.subject | หอยแมลงภู่ - - การเลี้ยง - - อ่างศิลา (ชลบุรี) | th_TH |
dc.subject | หอยแมลงภู่ - - ไทย - - ชลบุรี | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาของประชากรหอยแมลงภู่ (Perna viridis) บริเวณแหล่งเลี้ยง ตำบลอ่างศิลา จังหวัดชลบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Green mussel, perna viridis, population structure changes in farming areas at Ang Sila, Chonburi | en |
dc.type | Research | |
dc.year | 2542 | |
dc.description.abstractalternative | This study investigates growth of the green mussel (Perna viridis) in farms at coastal areas of Angsila, Chonburi Province. The work conducted between September 1999 to August 2000. The results of this study show that length and growth of green mussels on the middle position were higher than the bottom and top positions The ratio between male: female of green mussel showed female green mussel were more than male. Histology of gonad of green mussel showed separated sex and matusity at 3 months. The gonad was in full development at 4 months. Green mussel had mature oocyte and spawned in November-February and May-August | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น