กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3536
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorศศิวุฑฒิ์ วงษ์มณฑา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-05-02T04:10:59Z
dc.date.available2019-05-02T04:10:59Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3536
dc.description.abstractการเกิดขึ้นของสถาบันในระบอบประชาธิปไตยมักมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การขยายตัวทางเศรษฐกิจช่วยเพิ่มจํานวนแรงงานที่มีการศึกษาสูงในภาคการผลิตที่ทันสมัยซึ่งช่วยให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้นผ่านการเลื่อนฐานะทางเศรษฐกิจ การมีส่วนร่วมทางการเมืองครอบคลุมตั้งแต่การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งไปจนถึงกิจกรรมอื่นๆ ภายใต้กรอบของกฎหมาย อย่างไรก็ตาม บางกิจกรรมอาจนําไปสู่การฝ่าฝืนกฎหมาย อาทิการเดินขบวน การสนับสนุนหรือคัดค้านการใช้กฎหมาย และการประท้วงต่อต้านรัฐบาลการศึกษานี้ประยุกต์แบบจําลองเจตจํานงนิยมภาคพลเมืองเพื่อตรวจสอบผลเชิงประจักษ์ของปัจจัยเศรษฐกิจต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในภาคตะวันออกของไทย วิธีออเดอร์โลจิตนํามาใช้ประมาณค่าแบบจําลองที่ได้จากแบบสอบถามจํานวน 440 ชุด ผลการศึกษาสําคัญ พบว่า อายุและรายได้ครัวเรือนส่งผลต่อทางบวกต่อระดับการมีส่วนร่วมทางการเมือง ในขณะการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมบางประเภทสามารถอธิบายความแตกต่างของการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้กล่าวคือ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนามีแนวโน้มลดลง ที่จะมีส่วนร่วมทางการเมืองในระดับสูง บทบาทของสื่อมวลชนโดยเฉพาะสื่อเลือกข้างและ ความพึงพอใจระดับบุคคลต่อการกระจายรายได้เป็นตัวกําหนดสําคัญของการมีส่วนร่วมทางการเมือง การศึกษานี้มีข้อค้นพบบางส่วนว่าความเหลื่อมล้ําและความยากจนในระดับชุมชน(ตําบล) ส่งผลให้ การมีส่วนร่วมทางการเมืองลดลงth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการมีส่วนร่วมทางการเมือง -- ไทย (ภาคตะวันออก)th_TH
dc.subjectไทย -- การเมืองและการปกครอง -- การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectสาขาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยด้านเศรษฐกิจกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในชุมชนภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeEconomic determinants of political participation : evidence from communities in the Eastern Region of Thailanden
dc.typeResearch
dc.author.emailSasiwooth@buu.ac.th
dc.year2560
dc.description.abstractalternativeIt is widely accepted that the emergence of the democratic institutions is associated with national economic development. An expanding economy has raised the number of high educated workers in modern sectors. This in turn increases political participation of individuals through economic mobility. Political participation ranges from voting in electoral processes to other activities which are legal but some are likely to break the law such as public demonstration, signing petitions, and anti-government protests. This study applies Civic Voluntarism Model to empirically investigate the economic determinants of political participation in the Eastern region of Thailand. An ordered logit model is estimated with data collected from the survey, consisting of 440 respondents. The main results show that age and household income have a positive impact on levels of participation, and some types of social activities help explain differences in levels of participation. More specifically, individuals who often spend their free time with religious activities are less likely to engage in high levels of participation. Role of mass media, particularly partisan media, and individual preferences for income distribution are also the key determinants of political participation. There is some evidence supporting that inequality and poverty at community level (Tambon) leads to a decline in political participationen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2563_008.pdf1.1 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น