กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3457
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ดวงกมล ผลเต็ม | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-04-02T01:53:31Z | |
dc.date.available | 2019-04-02T01:53:31Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3457 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้นำวิธีโฮโมโทปีเพอร์เทอร์เบชันร่วมกับการแปลงธรรมชาติ เพื่อพัฒนาเป็นวิธีใหม่ในการหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย เช่น สมการเบอร์เกอร์ ซึ่งเป็นสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยแบบไม่เชิงเส้น ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้ใช้พหุนามฮีช่วยในการเปลี่ยนพจน์ไม่เชิงเส้นให้เป็นฟังก์ชันพหุนาม ซึ่งทำให้ การหาผลเฉลยทำได้ง่ายขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีแยกอโดเมียน ซึ่งจากตัวอย่างที่ได้แสดงในงานวิจัยนี้ได้ผลเฉลยแบบแม่นตรง | th_TH |
dc.description.sponsorship | งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ เลขที่สัญญา 22/2560 | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การแก้โจทย์สมการ | th_TH |
dc.subject | สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย | th_TH |
dc.subject | สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ | th_TH |
dc.title | วิธีโฮโมโทปีเพอร์เทอร์เบชันและการแปลงธรรมชาติ สำหรับการหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยแบบไม่เชิงเส้น | th_TH |
dc.title.alternative | Homotopy perturbation and natural transform for solving nonlinear partial differential equations | en |
dc.type | Research | |
dc.author.email | duangkamolp@buu.ac.th | th_TH |
dc.year | 2560 | |
dc.description.abstractalternative | In this research, we combined natural transform method with the homotopy perturbation method to solve some systems of partial differential equations, viz. the systems of coupled Burgers’ equations in oneand two-dimensions. The nonlinear term can easily be handled using the help of He's polynomial. This technique is applied in two examples. The both problems are resulted in exact solutions. The nonlinear problem can be easily solved without using Adomian’s polynomials which is the advantage of this method over the decomposition method. | en |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
2562_001.pdf | 462.91 kB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น