กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3253
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | รุังนภา ยรรยงเกษมสุข | |
dc.contributor.author | สุมิต อินทวงศ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:23:16Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:23:16Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3253 | |
dc.description.abstract | การประกวดนางงามเป็นพื้นที่ที่สะท้อนให้เห็นถึงโครงสร้างสังคมที่ได้เปิดโอกาสให้ผู้หญิง และการมีบทบาทในพื้นที่สาธารณะอันจะนำไปสู่การยอมรับและยกย่องในคุณสมบัติรวมทั้งความรู้ และความสามารถ แต่ด้วยสังคมที่ยังห่อหุ้มด้วยระบบชายเป็นใหญ่ ผู้หญิงจึงรู้สึกยินดีกับการมีพื้นที่ ๆ เปิดกว้างในสาธารณะ ซึ่งเป็นการหลอกว่ามีความเท่าเทียมกันกับผู้ชาย เพราะแท้ที่จริงแล้วระบบชายเป็นใหญ่ยังคงดำรงอยู่ เพียงแต่โครงสร้างในการสร้างความชอบธรรมได้เปลี่ยนแปลงไป แต่เดิมโครงสร้างที่สนับสนุนระบบชายเป็นใหญ่จำกัดผู้หญิงให้อยู่แต่ในบ้าน โครงสร้างใหม่ในศตวรรษที่ 20 ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม วัฒนธรรมการบริโภค รวมทั้งการสื่อสาร ได้เปิดโอกาสให้ผู้หญิงออกมานอกบ้าน และทำงานนอกบ้านได้ แต่โครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงไปยังคงได้จำกัดผู้หญิงให้ด้อยกว่าผ่านการจ้างงาน การจัดแบ่ง และกลุ่มที่กดขี่ ก็กลายเป็นกลุ่มคนและระบบ ไม่ใช่สามีหรือพ่อในครอบครัวอีกต่อไป | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | การประกวดความงาม | th_TH |
dc.subject | นางงาม | th_TH |
dc.subject | ระบบชายเป็นใหญ่ | th_TH |
dc.subject | สตรี | th_TH |
dc.subject | สาขาสังคมวิทยา | th_TH |
dc.title | การประกวดนางงามกับระบบชายเป็นใหญ่ในพื้นที่สาธารณะ | th_TH |
dc.title.alternative | Beauty pageant and public patriarchy | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 3 | |
dc.year | 2558 | |
dc.description.abstractalternative | Beauty Pageant is a space that mirrors the social structure which open an opportunity to women and their role in public area which led to the recognition and praise in women qualification, knowledge and abilities. Women feel welcomed widen public area while society has been covered by partriarchy and the equality is not for real. Patriarchy still exists but structures which gave the legitimacy to patriarchy were chanded. In the past, structures which supported patriarchy restricted women in the household. New structures in 20 th century. liberal economic. consumer culture and communication give opportunities to women to go outside and to work in workplace. Hence, hanged structures still force women as inferior via employment, segregation and collection. | en |
dc.journal | วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา = Burapha Journal of Political Economy | |
dc.page | 83-105. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
bpe3n1p83-105.pdf | 1.77 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น