กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2525
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชาลี ครองศักดิ์ศรี | |
dc.contributor.author | ปราโมทย์ โศจิศุภร | |
dc.contributor.author | สมเกียรติ ขอเกียรติวงศ์ | |
dc.contributor.author | Claudio Richter | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:16:01Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:16:01Z | |
dc.date.issued | 2009 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2525 | |
dc.description.abstract | ได้ทำการตรวจวัดคลื่นเดี่ยวใต้น้ำที่เคลื่อนที่สู่ชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะสิมิลัน ในฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ จากการตรวจวัดพบคลื่นเดี่ยวใต้น้ำชนิดกดลงมีแอมปลิจูดและความเร็วกระแสน้ำในแนวราบไม่เกิน 0.8 เมตรและโอกาสการปรากฎขึ้นของคลื่นจะเพิ่มขึ้นเมื่อพิสัยของน้ำขึ้นน้ำลงเพิ่มขึ้น ความเร็วกระแสน้ำสูงสุดในแนวราบเนื่องจากคลื่นเดี่ยวใต้น้ำแปรผันตรงกับ แอมปริจูดของคลื่นเดี่ยวใต้น้ำ ทิศทางของความเร็วกระแสน้ำเนื่องจากคลื่นเดียวใต้น้ำในแนวราบแสดงให้เห็นว่าคลื่นส่วนใหญ่ที่ปรากฏขึ้นในบริเวณนี้อาจเกิดมาจากภูเขาใต้น้ำใกล้บริเวณ 8° 50’ ในทะเลอันดามัน นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงความเข้มของเสียงสะท้อนบริเวณใกล้พื้นท้องทะเล ทำให้คาดว่าเกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนที่พื้นท้องทะเลมีสาเหตุมาจากคลื่นสั้นชนิดนี้ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | คลื่นทะเล - - ทะเลอันดามัน | th_TH |
dc.subject | คลื่นน้ำ | th_TH |
dc.title | คลื่นเดี่ยวใต้น้ำบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกของหมู่เกาะสิมิลัน | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 14 | |
dc.year | 2009 | |
dc.description.abstractalternative | Observations of internal solitary wave propagating to the western coast of Similan Islands were conducted during the northeast monsoon. Depressing internal solitary wave, whose amplitudes and horizontal velocities up to 65 m and 1.3 ms^(-1) , respectively, were discovered. The internal waves occurred only during spring tides, when the tidal ranges at Thap Lamu bay exceeded 0.8 m, and the probability of their occurrence increased with tidal range. Maximum horizaontal current velocities induced by wave propagation were found to be proportional to the wave amplitudes. Directions of such currents suggested that most of that waves be generated from the sills near 8° 50’N 94° 56’E in the Andaman Sea. These short-period waves were assumed to trigger remobilization of bottom sediments, which was observed by variation of echo intensity near sea bootom. | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha Science Journal. | |
dc.page | 88-98. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น