กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2507
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิชิต สุรัตน์เรืองชัย | |
dc.contributor.author | สุกขะสะหวาด วงหาจัก | |
dc.contributor.author | ประยูร อิ่มสวาสดิ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. โรงเรียนสาธิต "พิบูลบำเพ็ญ" | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:16:00Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:16:00Z | |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2507 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหา เปรียบเทียบ และเสนอแนวทางการดำเนินงานกิจการนักศึกษาของวิทยาลัยครูปากเซ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 48 คน ครูผู้สอน 58 คน และนักศึกษา 274 คน รวม 380 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และ Independent -Samples t -test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ปัญหาการดำเนินงานกิจการนักศึกษาของวิทยาลัยครูปากเซโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัญหาการดำเนินงานกิจการนักศึกษาของวิทยาลัยครูปากเซ จำแนกตามสถานภาพที่ต่างกัน แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาการดำเนินงานกิจการนักศึกษาของวิทยาลัยครูปากเซ จำแนกตามระบบการเรียนที่ต่างกัน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. แนวทางการดำเนินงานกิจการนักศึกษา ประกอบด้วย งานกิจกรรมนักศึกษา งานสวัสดิการ และ บริการสุขภาพนักศึกษา และงานคุ้มครองดูแลนักศึกษา | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | กิจการนักศึกษา - - ลาว | th_TH |
dc.subject | นักศึกษา | th_TH |
dc.subject | บริการของสถาบันอุดมศึกษา | th_TH |
dc.subject | วิทยาลัยครูปากเซ | th_TH |
dc.subject | สาขาการศึกษา | |
dc.title | ปัญหาและแนวทางการดำเนินงานกิจการนักศึกษาวิทยาลัยครูปากเซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | th_TH |
dc.title.alternative | Problems and guidlines for student affairs management of Pakse Teacher Training College, Lao Pdr | en |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 23 | |
dc.year | 2555 | |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to investigate the problems, to compare, and to suggest the guidelines for the student affairs management of Pakse Teacher Training College. The sample consisted of 48 administrators,58 instructors, and 274 students, totaling 380 persons. A five-level rating scale questionnaire, with the reliability at .98, was an instrument used for data collection. Mean, standard deviation, one-way ANOVA , Independent -samples t-test. were employed as statistical devices for the data analysis. The findings of this study revealed as follows: 1. The problems of the student affairs management of Pakse Teacher Training College, both as a whole and in a particular aspect, were found of at a moderate level, 2. The problems of the student affairs management of Pakse Teacher Training College, as classified by the difference of status, were found significantly different at the level of .05 . 3. The problems of the student affairs management of Pakse Teacher Training College, as classified by the difference of educational system, were found significantly different at the level of .05. 4. The suggested guidelines for the student affairs management consisted of students’ activities, students’ health care and welfare, and taking good care of the students. | en |
dc.journal | วารสารศึกษาศาสาตร์ = Journal of education | |
dc.page | 23-34. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|
p23-34.pdf | 4.72 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น