กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2352
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุบัณฑิต นิ่มรัตน์ | |
dc.contributor.author | ประพัตร์ แก้วมณี | |
dc.contributor.author | ไตรมาศ บุญไทย | |
dc.contributor.author | วีรพงษ์ วุฒิพันธุ์ชัย | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:14:45Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:14:45Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2352 | |
dc.description.abstract | การสำรวจการใช้โพรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งขาวแปซิฟิกในฟาร์มเลี้ยงกุ้งจำนวน 60 แห่ง ได้ดำเนินการระหว่างธันวาคม 2549 - มกราคม 2550 โดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ในเขตอำเภอเมือง อำเภอบ้านค่าย และอำเภอแกลง จังหวัดระยอง พบว่าฟาร์มเลี้ยงกุ้งขาวแปซิฟิกในเขตอำเภอเมือง อำเภอบ้านค่าย และอำเภอแกลง จังหวัดระยอง เริ่มใช้มาแล้ว 1-2 ปี ส่วนใหญ่มีการใช้โพรไบโอติก (ร้อยละ 61.67) ผู้ประกอบมีความรู้ในเรื่องการใช้โพรไบโอติกปานกลาง โดยใช้โพรไบโอติกผสมกับอาหารกุ้ง นำไปเลี้ยงกุ้งขาวแปซิฟิกตลอดรอบของการเลี้ยง นอกจากนี้ยังใช้โพรไบโอติกผสมน้ำสาดรอบบ่อเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตของกุ้ง จากการใช้พรไบโอติกผู้ประกอบการให้ความเห็นว่าทำให้กุ้งขาวแปซิฟิกมีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดชีวิตสูงขึ้น ปริมาณขี้เลนลดลง สีของเลนจางลงและสิ่งที่ผู้ประกอบการเลี้ยงกุ้งขาวแปซิฟิกต้องการจากการใช้โพรไบโอติกคือ ต้องการให้ผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกมีคุณภาพดีขึ้น (ร้อยละ 54.05) รองลงมา คือ ลดราคาโพรไบโอติกและให้รัฐผลิตโพรไบโอติกแจกให้แก่ผู้ประกอบการ | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.subject | กุ้ง - - อาหาร. | th_TH |
dc.subject | กุ้งขาว - - การเลี้ยง - - ระยอง | th_TH |
dc.subject | โพรไบโอติก | th_TH |
dc.title | การสำรวจการใช้โพรไบโอติกในการเลี้ยงกุ้งขาวแปซิฟิกในจังหวัดระยอง | th_TH |
dc.type | บทความวารสาร | th_TH |
dc.issue | 1 | |
dc.volume | 14 | |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | A survey on the use of probiotic in Pacific white shrimp (Litopenaeus vannamei) farming was accomplished by questionnaires and interviews the owners of 60 grow - out farms between December 2006 - January 2007 in Amphoe Mueang Rayong, Ban Khai and Klaeng, Rayong Province. Results revealed that shrimp farmers used probiotic during the grow-out period 61.67% in the past 1-2 years of shrimp farmer. However, the knowledge related to the use of probiotic in diet thought out the culture period. Additionally, probiotic was also used to apply into the cultured ponds, resulting in enhancement of the growth rate and survival rate as well as reduction of the color and accumulation of sludge. The farm-owners need more helpful on the improvement of probiotic quality followed by the reduction in probiotic price and the free support of probiotics by government | en |
dc.journal | วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา = Burapha science journal. | |
dc.page | 56-69. | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | บทความวิชาการ (Journal Articles) |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น