กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2027
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorธนิดา ตระกูลสุจริตโชคth
dc.contributor.authorปิยะพร ณ หนองคายth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.available2019-03-25T09:10:38Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/2027
dc.description.abstractเม็ดพอลิเมอร์ชีวภาพคอมโพสิตถูกเตรียมให้มีองค์ประกอบของไคโตซาน, เจลาติน และอนุภาคนาโนเหล็กออกไซด์ขนาดอนุภาคระดับนาโน (Fe3O4/CS/GE) โดยอนุภาคนาโนเหล็กออกไซด์ถูกสังเคราะห์ขึ้นจากการตกตะกอนร่วมระหว่าง Fe(II)/Fe(III) ไอออนในสารละลายแอมโมเนีย และบรรจุลงในเม็ดไคโตซาน จากนั้นเคลือบด้วยเจลาตินและเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลด้วยกลูตารัลดีไฮด์ เมื่อนำ Fe3O4/CS/GE–GLA คอมโพสิตไปทดสอบการบวมตัวและวิเคราะห์ลักษณะเฉพาะด้วย SEM-EDX FTIR และ TGA พบว่าคอมโพสิตที่เตรียมได้คงรูปได้ดีในน้ำ โทลูอีน และสารละลายโซเดียมคลอไรด์ โดยมีลักษณะค่อนข้างกลม ไม่เกิดการแยกเฟสระหว่างไบโอพอลิเมอร์ที่ใช้เป็นสารตั้งต้น คอมโพสิตมีเสถียรภาพทางความร้อนดีกว่าโฮโมพอลิเมอร์ จากการศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับ พบว่ามีหลายตัวแปรที่ส่งผลต่อการดูดซับคอปเปอร์ (II) ไอออน เช่น ความเข้มข้นของสารเชื่อมโยงโมเลกุล เวลาในการดูดซับ และความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายคอปเปอร์ (II) ไอออน ประสิทธิภาพการดูดซับคอปเปอร์ (II) ไอออนถูกวิเคราะห์ด้วยเทคนิค FAAS ซึ่งตัวอย่าง Fe3O4/CS/GE–0.75GLA แสดงค่าประสิทธิภาพการดูดซับเท่ากับ 2.20 mmol/g พบว่า กลไกของการดูดซับคอปเปอร์ (II) ไอออน ของคอมโพสิตสอดคล้องกับไอโซเทอร์มการดูดซับของแลงเมียร์th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินทุนอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณเพิ่มเติม) ประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectเจลาตินth_TH
dc.subjectโลหะหนักth_TH
dc.subjectไคโตซานth_TH
dc.titleพอลิเมอร์ชีวภาพไคโตซาน/ เจลาติน ที่มีสมบัติแม่เหล็ก สำหรับเป็นแรซินแลกเปลี่ยนไอออนและกำจัดโลหะหนักในน้ำทิ้งth_TH
dc.title.alternativeMagnetic chitosan/gelatin biopolymers for the application of ion exchange resin and removal of heavy metals from waste wateren
dc.typeResearch
dc.author.emailpiyapornn@buu.ac.th
dc.author.emailthanida@buu.ac.th
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeA biopolymer-based composite was prepared from chitosan (CS), gelatin (GE) and Fe3O4 nanoparticles. The Fe3O4 (magnetite) nanoparticles were synthesized by chemical co-precipitation method from the reaction mixture of Fe(II), Fe(III) ions in ammonia solution and loaded into the chitosan beads. The beads were then encapsulated with gelatin and crosslinked with glutaraldehyde (GLA). The obtained Fe3O4/CS/GE–GLA composite beads were characterized by swelling test, SEM-EDX, FTIR and TGA. They exhibited good dimensional stability in water, toluene and sodium chloride solution and possessed spherical shape without an obvious sign of phase separation. An enhancement in thermal stability was observed from the composites comparing to their homopolymers. Several important parameters influencing the adsorption of Cu (II) ions such as crosslink agent contents, adsorption time and initial concentration of Cu (II) ions were evaluated. The 2.20 mmol/g adsorption capacity of Fe3O4/CS/GE-0.75GLA in aqueous solution was measured using flame atomic absorption spectroscopy (FAAS). The uptake of Cu (II) ions on the polymer beads was found to follow the Langmuir isothermen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2563_070.pdf3.2 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น