กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1931
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorจเร จรัสจรูญพงศ์
dc.contributor.authorอนันต์ อธิพรชัย
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:58Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:58Z
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1931
dc.description.abstractโรคอัลไซเมอร์เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับภาวการณ์เสื่อมของสมอง พบมากในผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีแนวโน้มที่จำนวนผู้ป่วยมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่อย่างไรก็ตามยาในปัจจุบันเป็นเพียงยาที่ชะลออาการของโรคเท่านั้น ในงานวิจัยนี้ได้สังเคราะห์สารกลุ่ม diheteroarylarylmethanes จำนวน 4 กลุ่ม ได้แก่ 1,1-di(5-methylfuryl)-arylmethanes 3a-t, 1,1-di(5-ethylthienyl) phenylmethane 4, 1,1-di-(pyr-rolyl)arylmethanes 5a-c และ 1,1-di(3-indolyl) arylmethanes (6a-e) ด้วยปฏิกิริยา bisarylation แบบขั้นตอนเดียวของสารตั้งต้นคือ 2-methylfuran, 2-ethylthiophene, pyrrole, 2-ethylpyrrole หรือ indole กับ aldehyde ชนิดต่าง ๆ ภายใต้สภาวะที่ไม่รุนแรง โดยใช้ Bi(OTf)3 (10 mol%), I2 (10 mol%) หรือ FeCl3·6H2O (15 mol %) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทำปฏิกิริยาที่อุณหภูมิห้อง ทำให้ได้ diheteroarylarylmethanes เป็นผลิตภัณฑ์จำนวน 29 โครงสร้าง ในร้อยละปานกลางถึงสูงมาก จากนั้นได้นำสารสังเคราะห์ไปทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอซีทิลโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ก่อให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ พบว่าสาร bis(3-indolyl)-4-hydroxyphenylmethane (6e) มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอซีทิลโคลีนเอสเทอเรสถึง 73.11±0.11 % ดังนั้น สามารถใช้สาร bis(3-indolyl)-4-hydroxyphenylmethane (6e) เป็น Lead compound เพื่อนำไปพัฒนาไปเป็นยารักษาโรคอัลไซเมอร์ต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectสาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชth_TH
dc.subjectเอนไซม์แอซีทิลโคลีนเอสเทอเรสth_TH
dc.subjectโรคอัลไซเมอร์th_TH
dc.titleการสังเคราะห์และปรับเปลี่ยนโครงสร้างสารไดเฮทเทอโรเอริล เอริลมีเทน และอนุพันธ์ในการใช้เป็นสารยับยั้งโคลีนเอสเทอเรส เพื่อใช้รักษาโรคอัลไซเมอร์th_TH
dc.title.alternativesynthesis and biological evaluation of diheteroary larylmethanes and related analogs as cholinesterrase inhibitor for the treatment of alzheimer' s diseaseth_TH
dc.typeResearch
dc.year2559
dc.description.abstractalternativeAlzheimer’s disease (AD) is cause of demetia, most AD patient are over 60 years old and tend to have more patients. However, the drug is currently the only drug that slowed the disease's symptoms and side effects. In this research, four groups of diheteroarylarylmethanes i.e. 1,1-di(5-methylfuryl)arylmethanes 3a-t, 1,1-di(5-ethyl-thienyl)phenylmethane 4, 1,1-di(pyrrolyl)aryl-methanes 5a-c and 1,1-di(3-indolyl)-arylmethanes (6a-e) were synthesized via one-pot, bisarylation of 2-methylfuran, 2-ethylthiophene, pyrrole, 2-ethylpyrrole or indole with a variety of aldehyde under mild conditions in the presence of Bi(OTf)3 (10 mol%), I2 (10 mol%) or FeCl3•6H2O (15 mol %) as catalyst at room temperature to afford the twenty-nine compounds of diheteroarylarylmethanes as products in moderate to excellent yields. Then, the synthesized compounds were evaluated acetylcholinesterase inhibitory activity. Acetylcholinesterase is an enzyme that contributes to Alzheimer's disease. The results found that the bis(3-indolyl)-4-hydroxyphenylmethane (6e) showed promising acetylcholinesterase inhibitory activity with value of 73.11±0.11 %. Thus, the bis(3-indolyl)-4-hydroxyphenylmethane (6e) would be a lead compound for the development of novel drug for the Alzheimer’s diseaseen
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2560_114.pdf1.33 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น