กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1828
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorเบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.authorอนุกูล บูรณประทีปรัตน์th
dc.contributor.authorชลี ไพบูลย์กิจกุลth
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.available2019-03-25T09:09:51Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1828
dc.description.abstractการศึกษาทิศทางการไหลของน้ำและ ปริมาณตะกอนแขวนลอยต่อความหลากหลายของปะการังบริเวณหาดเจ้าหลาวจังหวัดจันทบุรีตลอดทั้งปีตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 – เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ทิศทางการไหลของน้ำ ทิศทางการเคลื่อนที่ของตะกอน ปริมาณตะกอนทั้งผิวน้ำ และพื้นท้องน้ำถูกศึกษาด้วยเครื่องมือเฉพาะ (current meter and water trap) ผลการศึกษาพบว่า ทิศทางการไหลของกระแสน้ำกับทิศทางการเคลื่อนตัวของตะกอนในฤดูฝนมีแนวโน้มมาจากปากแม่น้ำแขมหนูเป็นส่วนมาก ส่วนในฤดูหนาวนั้นทิศทางการไหลของกระแสน้ำกับทิศทางการเคลื่อนตัวของตะกอนนั้นเป็นแบบสม่าเสมอเนื่องจากไม่ได้รับผลกระทบของคลื่นลมและกระแสน้ำ สาหรับในเดือนสิงหาคม มีนาคม และมิถุนายนพบว่าตะกอนผิวน้ำ และพื้นท้องน้ามีความสัมพันธ์กันเนื่องจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมในฤดูฝนซึ่งจะพัดพาตะกอนจากชายฝั่งลงทะเลปะการังที่อยู่ใกล้บริเวณปากแม่น้ำแขมหนู (เส้นสารวจ C) พบว่าได้รับผลกระทบจากตะกอนในฤดูฝนมากที่สุด เนื่องจากปากแม่น้ำแขมหนูมีอนุภาคดินเหนียวมาก โดยปะการังที่อยู่ใกล้ปากแม่น้ำที่สุดมีความเสื่อมโทรมมากที่สุด ในขณะที่แนวสารวจเส้น A พบความดัชนีความหลากหลายของปะการังมากที่สุด ซึ่งเป็นแนวแนวปะการังที่อยู่ห่างจากปากแม่น้ำ ปะการังชนิดแข็งพบได้มากที่สุดในการศึกษาครั้งนี้th_TH
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความหลากหลายทางชีวภาพth_TH
dc.subjectปะการังth_TH
dc.subjectหาดเจ้าหลาวth_TH
dc.subjectสาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตะกอนแขวนลอย ฟลักซ์ของธาตุอาหารอนินทรีย์ต่อความหลากหลายทางชีวภาพของปะการังบริเวณหาดเจ้าหลาว จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeRelationship between total suspended solid and flux of inorganic nutrients on coral biodiversity, Chao-Lao beach area, Chanthaburi provinceen
dc.typeResearch
dc.author.emailbenjamas@buu.ac.th
dc.author.emailanukul@buu.ac.th
dc.author.emailpchalee@buu.ac.th
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeDirections of water flow and suspended solid on biodiversity of coral at Chao Lao Beach, Chanthaburi Province were study on August 2012 - November 2013. The direction of water flow, the direction of sediment movement and quantity of sediment (surface and bottom) around area were researched by specific instruments - current meter and sediment trap. The results found that in the rainy season, the direction of water flow and the direction of sediment movement tends to come from the Kham-Nu estuary. In the winter, the direction of water flow and the direction of sediment movement had been affected on wind, waves and water flow. On August, March and June, surface sediment and bottom sediment have relationship due to the monsoon in rainy season sweep sediment from the shore into the sea. Coral located nearest Kham-Nu estuary (line C) had been the most affected from sediment in rainy season, due to Kham - Nu estuary had a lot of clay sediment. Thus, coral located nearest Kham-Nu estuary had been the most deteriorated. Coral located far from Kham-Nu estuary (line A) was the highest biodiversity index. Species of main coral that found in this study was Porites lute.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2564_136.pdf3.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น