กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17368
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorรณชัย รัตนเศรษฐ-
dc.contributor.authorพิทักษ์ สูตรอนันต์-
dc.contributor.authorพิมลพรรณ เลิศล้ำ-
dc.date.accessioned2024-12-02T01:22:10Z-
dc.date.available2024-12-02T01:22:10Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17368-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์คือ การจัดทําข้อมูลประวัติพัฒนาการและวิถี ชีวิตชุมชน ประกอบด้วย ด้านประวัติ ด้านสังคมวิถีชีวิตและความเชื่อโยงในชุมชน การจัดทําองค์ความรู้ ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ผลการศึกษาพบว่า ประวัติพัฒนาการและวิถีชีวิตชุมชน ตลาดไผ่ล้อมชุมชนใหญ่ที่นับว่าเป็น ศูนย์กลางของอําเภอไผ่ล้อม (ปัจจุบันคือ อําเภอบ้านค่าย) ลักษณะเป็นที่ราบ มีสายน้ำระยองไหลพาดผ่านใจกลางชุมชน จึงทําให้ชุมชนนี้เป็นย่านการค้าที่สําคัญที่จะรับของป่าและข้าวล่องน้ำไปขายที่เมืองระยอง โดยมีผู้คนอาศัยตั้งแต่สมัยอิทธิพลขอม สมัยอยุธยา จนสมัยรัตนโกสินทร์ มีการพัฒนาเรื่อยมาจนย่านการค้าแห่งนี้จึงได้เกิดอาคารเรียงรายจนถึงปัจจุบัน ทำให้เป็นศูนย์กลางทางการค้า รวมถึงกลุ่มของชาติพันธุ์ และเป็นแหล่งรวมศิลปวัฒนธรรมที่ถูกนำเข้ามาจากผู้ที่เดินทางเข้ามายังพื้นที่ ก่อให้เกิดเป็นการประสมประสานศิลปะพื้นบ้านที่พัฒนาขึ้นจนเกิดเป็นเอกลักษณ์พื้นถิ่น โดยเฉพาะหนังตะลุงของสายวัตใหม่กระบกขึ้นผึ้ง ที่เป็นต้นกำเนิดของหนังตะลุงของจังหวัดระยองที่เป็นแหล่งกำเนิดที่สำคัญ การแสดงหนังตะลุงเข้ามาในจังหวัดของเมื่อราวพ.ศ. 2469 จากครูหนังตะลุงที่เที่ดินทางมาจากปักษ์ใต้ เดินทางมาทำการแสดงหนังตะลุงที่บ้านไผ่ล้อมซึ่งเป็นเขตตัวอำเภอบ้านค่าย และเริ่มตั้งคณะหนังตะลุงที่วัดใหม่กระบกขึ้นผึ้ง จนเป็นต้นแบบการแสดงหนังตะลุงของจังหวัดระยอง"th_TH
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectหนังตะลุงth_TH
dc.subjectศิลปะการแสดงพื้นบ้านth_TH
dc.subjectศิลปะการแสดง -- ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectหนัง (มหรสพ)th_TH
dc.titleการถอดบทเรียนองค์ความรู้ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ภาคตะวันออก สู่ฐานข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีพth_TH
dc.title.alternativeBringing the Eastern Folk Performing Arts Knowledge Lesson to the Database for Lifelong Learningth_TH
dc.typeResearchth_TH
dc.year2566th_TH
dc.description.abstractalternativeThis research is a qualitative study with the objective of compiling the historical development and lifestyle of the community, encompassing aspects such as history, social life, and community interconnections. Additionally, it aims to compile knowledge on traditional performing arts. The study found that the historical development and lifestyle of the Phailom Market community, a major community considered the center of Phailom District (currently Ban Khai District), are characterized by a flat terrain with the Rayong River flowing through the center of the community. This geographical feature made the community an important trading hub, where forest products and rice were transported via the river to be sold in Rayong City. The community has been inhabited since the influence of the Khmer Empire, through the Ayutthaya period, and into the Rattanakosin era. Over time, this trading area developed, with buildings lining the streets, making it a commercial center, as well as a gathering place for various ethnic groups. This convergence led to the fusion of local performing arts, which evolved into a distinctive cultural identity, particularly the shadow puppet theater of Wat Mai Krabok Khun Pheung, which became the origin of Rayong Province's shadow puppet theater and an important cultural heritage site. The shadow puppet theater was introduced to Rayong Province around 1946 by a shadow puppet master who traveled from the southern region of Thailand. She performed at Ban Phailom, which was within the Ban Khai District, and eventually established a shadow puppet troupe at Wat Mai Krabok Khun Pheung, which became the prototype for Rayong Province's shadow puppet theater.th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2568_120.pdf3.41 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น