กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17261
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอาวุธ หมั่นหาผล-
dc.contributor.authorสุพัตรา ตะเหลบ-
dc.contributor.authorวันชัย วงสุดาวรรณ-
dc.contributor.authorฉลวย มุสิกะ-
dc.date.accessioned2024-06-21T04:47:35Z-
dc.date.available2024-06-21T04:47:35Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17261-
dc.description.abstractการศึกษาลักษณะของคุณภาพน้ำทะเลและปริมาณแพลงก์ตอนพืชในช่วงการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี บริเวณชายหาดบางแสน ในปี พ.ศ. 2564 มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจติดตามการเปลี่ยนแปลงและหาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพน้ำทะเลกับความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช โดยทำการเก็บตัวอย่างเดือนละครั้ง จำนวน 4 สถานี ระหว่างเดือนมกราคมถึงธันวาคม ในปี พ.ศ. 2564 ผลการศึกษา พบว่า ค่าอุณหภูมิน้ำ 25.0-34.0 °C ออกซิเจนละลาย 3.9-10.6 mg/L ความเป็นกรด-ด่าง 7.9-8.8 ความเค็ม 18.6-33.0 PSU สารแขวนลอย 15.8-186.4 mg/L แอมโมเนีย-ไนโตรเจน MDL-107.3 µg-N/L ไนไตรท์-ไนโตรเจน MDL-31.9 µg-N/L ไนเตรท-ไนโตรเจน MDL-101.2 µg-N/L ฟอสเฟต-ฟอสฟอรัส MDL-39.4 µg-P/L ซิลิเกต-ซิลิคอน 24.0-2482 µg-Si/L และความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช 3587-1.1x107 cell/L ทั้งนี้ พบว่า คุณภาพน้ำทะเลยังคงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ำทะเล ประเภทที่ 4 คุณภาพน้ำทะเลเพื่อการนันทนาการ ตามประกาศของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2564 และสารอาหารในน้ำทะเลมีความสัมพันธ์กับจำนวนของแพลงก์ตอนพืชในช่วงการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสีกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง (P<0.01) แสดงให้เห็นว่าปริมาณของอนินทรียสารในรูปแบบไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และซิลิเกตที่ละลายในน้ำทะเลมีผลต่อการเพิ่มขึ้นและลดลงของแพลงก์ตอนพืชในช่วงการเกิดปรากฏการณ์น้ำทะเลเปลี่ยนสี ซึ่งสามารถชี้วัดได้จากความหนาแน่นของจำนวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงของแพลงก์ตอนพืชที่ตรวจพบได้ในสถานีและเวลาดังกล่าวth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectคุณภาพน้ำทะเลth_TH
dc.subjectแพลงก์ตอนพืชth_TH
dc.titleลักษณะของคุณภาพน้ำทะเลกับปริมาณแพลงก์ตอนพืช ในช่วงการเกิดปรากฏการณ์น้ำ ทะเลเปลี่ยนสีบริเวณชายหาดบางแสน ในปี พ.ศ. 2564th_TH
dc.title.alternativeThe characteristics of seawater quality and Phytoplankton Abundance during red tide Phenomenon in Bangsaen Beach in 2021th_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.volumeฉบับเพิ่มเติม 1th_TH
dc.year2566th_TH
dc.description.abstractalternativeA study of the characteristics of seawater quality and Phytoplankton Abundance during red tide phenomenon in Bangsaen beach in 2021. To monitoring variation of seawater qualities and the relationship of seawater quality and phytoplankton. The 4 sampling stations were collected every month (January to December in 2021). The result showed that the seawater quality in these areas are as follows : Water temperature 25. 0 - 34. 0 °C, issolved oxygen 3.9-10.6 mg/L, pH 7.9-8.8, salinity 18.6-33.0 PSU, suspended solid 15.8-186.4 mg/L, Ammonia-nitrogen MDL-107.3 µg-N/L, nitrite-nitrogen MDL-31.9 µg-N/L, Nitrate-nitrogen MDL-101.2 µg-N/L, Phosphate-phosphorus MDL-39.4 µg-P/L, Silicate-silicon 24.0-2482 µg-Si/ L and Abundance 3587-1.1x107 cell/L. These seawater qualities were still in the standard of Thailand ( the recreational Zone) . The nutrients in seawater affected the increase and decrease of phytoplankton during the red tide phenomenon. These can measured by in the density of some phytoplankton abundance.th_TH
dc.journalวารสารแก่นเกษตรth_TH
dc.page323-329th_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:บทความวิชาการ (Journal Articles)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
IMS_323-329.pdf1.35 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น