กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1681
ชื่อเรื่อง: โครงการ การตรวจหามะเร็งเต้านมโดยการตรวจหามวลที่มีรูปร่างแบบ Spiculation สำหรับคอมพิวเตอร์ช่วยการวินิจฉัยในโรงพยาบาล
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Breast cancer detection by evaluating spiculated mass for computer-aided diagnosis in hospital patients
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: กฤษณะ ชินสาร
สุวรรณา รัศมีขวัญ
เบญจภรณ์ จันทรกองกุล
ภูสิต กุลเกษม
อัณณ์นุพันธ์ รอดทุกข์
ชิดชนก เหลือสินทรัพย์
ปิยตระกูล บุญทอง
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาการสารสนเทศ
คำสำคัญ: การวินิจฉัยโรค
การหามะเร็งเต้านม
คอมพิวเตอร์
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
วันที่เผยแพร่: 2558
สำนักพิมพ์: คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: การตรวจหามะเร็งเต้านมจะใช้เทคนิคการประมวลผลภาพทางการแพทย์มาตรวจสอบ ก้อนเนื้อที่เป็นรอยฉีกจะเป็นปัจจัยที่บ่งชี้การเป็นมะเร็งเบื้องต้น ในกระบวนการตรวจสอบก้อนเนื้อที่เป็นรอยฉีกแบบอัตโนมัติจะประกอบไปด้วยขั้นตอนการประมวลผลภาพที่มีประสิทธิภาพ โดยการกำจัดส่วนของกล้ามเนื้อและพื้นหลังของภาพดิจิตตอลเมมโมแกรมออกเป็นความสำคัญในขั้นตอนแรกของกระบวนการนี้ จากนั้นสกัดส่วนที่เป็น ROI เพิ่มคุณภาพความเข้มของ ROI ด้วยสมการโพลิโนเมียล การสร้างโมเดลเริ่มต้นของ active contour ที่อยู่บนพื้นฐาน GGVF นั้นต้องใช้วิธี Radon transform และวิธีการแบ่งชั้นตามลาดับขั้น สุดท้ายรูปร่างของ active model จะแสดงให้เห็นรูปร่างที่แท้จริงของก้อนเนื้อที่เป็นรอยฉีก จากกระบวนการที่ได้นำเสนอ ภาพที่ใช้จากฐานข้อมูลภาพดิจิตอลเมมโมแกรมให้ความถูกต้องของผลลัพธ์เป็นที่น่าพึงพอใจมาก
URI: http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1681
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2559_010.pdf2.92 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น