กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1632
ชื่อเรื่อง: | โครงสร้างการเล่าเรื่องสื่อการแสดงพื้นบ้านและการถอดรหัสของผู้รับสารในภาพยนตร์ไทย |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Narrative structure and the audience decoding about folk in Thai films |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
คำสำคัญ: | การแสดงพื้นบ้าน ภาพยนตร์ไทย สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
วันที่เผยแพร่: | 2558 |
สำนักพิมพ์: | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
บทคัดย่อ: | สื่อการแสดงพื้นบ้านซึ่งเป็นสื่อของชุมชนเมื่อถูกนำมาผลิตผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น ภาพยนตร์จะมีโครงสร้างการเล่าเรื่องและการประกอบสร้างความหมายเช่นไร การวิเคราะห์ตัวบทภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสื่อการแสดงพื้นบ้าน 1) การเล่าเรื่องสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาพยนตร์ไทยเล่าแบบเป็นเส้นตรง (Linear) และมีจุดจบแบบโศกนาฏกรรม 2) การเล่าเรื่องสะท้อนให้เห็นถึงอำนาจของผู้ชายชนชั้นกลางในเรื่องเล่า 3) การเล่าเรื่องแบบย้อนอดีตในภาพยนตร์ไทยนอกจากเพื่อสร้างความมั่นใจในอัตลักษณ์ของตนแล้วยังเป็นการตอบสนองอารมณ์โหยหาอดีต 4) ภาพยนตร์ประกอบสร้างมายาคติเกี่ยวกับสื่อพื้นบ้านในฐานะที่เป็นวัฒนธรรมไทยที่รัฐจะต้องเข้าไปกำกับ ควบคุม ดูแล และ 5) การเล่าเรื่องสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาพยนตร์ไทยเป็นการเล่าที่กดทับศักยภาพของชุมชนทั้งในมิติของการต่อรองและการต่อสู้กับอำนาจในเชิงโครงสรา้งเศรษฐกิจการเมือง |
URI: | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1632 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | รายงานการวิจัย (Research Reports) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น