กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1632
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:08:31Z
dc.date.available2019-03-25T09:08:31Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1632
dc.description.abstractสื่อการแสดงพื้นบ้านซึ่งเป็นสื่อของชุมชนเมื่อถูกนำมาผลิตผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น ภาพยนตร์จะมีโครงสร้างการเล่าเรื่องและการประกอบสร้างความหมายเช่นไร การวิเคราะห์ตัวบทภาพยนตร์ไทยที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับสื่อการแสดงพื้นบ้าน 1) การเล่าเรื่องสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาพยนตร์ไทยเล่าแบบเป็นเส้นตรง (Linear) และมีจุดจบแบบโศกนาฏกรรม 2) การเล่าเรื่องสะท้อนให้เห็นถึงอำนาจของผู้ชายชนชั้นกลางในเรื่องเล่า 3) การเล่าเรื่องแบบย้อนอดีตในภาพยนตร์ไทยนอกจากเพื่อสร้างความมั่นใจในอัตลักษณ์ของตนแล้วยังเป็นการตอบสนองอารมณ์โหยหาอดีต 4) ภาพยนตร์ประกอบสร้างมายาคติเกี่ยวกับสื่อพื้นบ้านในฐานะที่เป็นวัฒนธรรมไทยที่รัฐจะต้องเข้าไปกำกับ ควบคุม ดูแล และ 5) การเล่าเรื่องสื่อการแสดงพื้นบ้านในภาพยนตร์ไทยเป็นการเล่าที่กดทับศักยภาพของชุมชนทั้งในมิติของการต่อรองและการต่อสู้กับอำนาจในเชิงโครงสรา้งเศรษฐกิจการเมืองth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาen
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการแสดงพื้นบ้านth_TH
dc.subjectภาพยนตร์ไทยth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleโครงสร้างการเล่าเรื่องสื่อการแสดงพื้นบ้านและการถอดรหัสของผู้รับสารในภาพยนตร์ไทยth_TH
dc.title.alternativeNarrative structure and the audience decoding about folk in Thai filmsen
dc.typeResearch
dc.year2558
dc.description.abstractalternativeThis study explores the narrative structure and meaning construction of folk media in Thai films. The textual analysis among Thai films in which folk media were portrayed found that: 1) the narration of folk media in Thai films was in a linear style and eneded up with a tragedy; 2) the narration reflected a patriarchal power of middle-class men; 3) in addition to serving as constructing a confidence of self-identity, the flashback narration also responded to a nostalgic sensation among film producers and audiences; 4) myths were constructed through Thai films that folk media, as a part of Thai culture, were required to be regulated, controlled, and monitored by the Thai state and; 5) the narration of folk media in Thai films was portrayed in ways to suppress local community's capacity in negotiating with and resisting against dominant economic and political powers.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
ไม่มีแฟ้มใดที่สัมพันธ์กับรายการข้อมูลนี้


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น