กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/15
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุฬาริน เฉยศิริ
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุด
dc.date.accessioned2019-03-25T08:45:42Z
dc.date.available2019-03-25T08:45:42Z
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/15
dc.description.abstractการศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา และศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากร สังกัดสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา จำนวน 67 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 23 คน พนักงานมหาวิทยาลัย (งบประมาณแผ่นดิน) 4 คน ลูกจ้างประจำ 6 คน และพนักงานมหาวิทยาลัย (งบประมาณรายได้) 34 คน ซึ่งปฏิบัติงานในช่วงเดือน ธันวาคม 2548 รวมจำนวนทั้งสิ้น 67 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามที่สร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scales) ตามแบบของ Likert โดยแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 1 ชุด แบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านฝ่ายที่ปฏิบัติงาน เพศ สถานภาพในการทำงาน อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน เงินเดือนที่ได้รับมีลักษณะเป็นแบบให้เลือกตอบ (Check List) จำนวน 6 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามปลายเปิดข้อคำถามเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน ได้รับแบบสอบถามกลับมาทั้งสิ้น 67 ฉบับ (ร้อยละ 100) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสถิติสำเร็จรูป SPSS for Window ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลากรสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (งบประมาณรายได้) มีอายุระหว่าง 26-30 ปี คุณวุฒิการศึกษาส่วนใหญ่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มีประสบการณ์ในการทำงานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป และส่วนใหญ่ได้รับเงินเดือนต่ำกว่า 7,000 บาท 2. บุคลากรสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ในองค์ประกอบที่มีความพึงพอใจระดับมาก ได้แก่ ความรับผิดชอบ ความสำเร็จของงาน ลักษณะของงาน และนโยบายแผนและการบริหาร และองค์ประกอบที่มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ได้แก่ สภาพการทำงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา การได้รับการยอมรับนับถือ ความมั่นคงในงาน เงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ 3. บุคลากรสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา มีปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ รวมถึงโปรแกรมที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านการบริหารงาน ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานในด้านบุคลากร ด้านบรรยากาศในการทำงาน และด้านงบประมาณอยู่ในระดับน้อยth_TH
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากเงินรายได้ของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548en
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการศึกษา - - ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา - - บุคลากรห้องสมุดth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักหอสมุดth_TH
dc.subjectสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.title.alternativeThe job performance satisfaction of library staffs of Burapha University Libraryen
dc.typeResearch
dc.year2550
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the job performance satistaction levels of library staffs of Burapha University and study the difficulties and problems of library staffs. The samples were selected in the study were 67 staffs; consisted of 23 government officers, 4 university employees (annual government statement of expenditure), 4 regular employees and 34 university employees (the profits of the library) that they have been worked in December, 2005. The instrument of the research was the rating scale questionnaire according to Likert's concept. There was a questionnaire which consisted of 3 parts: the first was about the general data of the samples such as their performances, gender, status, age, education levels, experiences, and salaries. The characteristics of first part were the check list and 6 items. The thrid was the open-ended question which was about the difficulties and problems in the working. The total of the numbers of the questionnaires were completely surveyed 67 copies. The statistical data were analyzed by SPSS for windows. The results of the research were as follows: 1. The majority of the library staffs of Burapha University Library were female, university employees (the profits of the library), the age is between 26 years and 30 years, the education level is the bachelor, the job experiences begin at least 10 years and the salary is less than 7,000 bath. 2. The library staffs of Burapha University Library had the satisfaction was the modurate level. The high level of the satisfaction consisted of the responsibilities, the job achievement, the characteristics of the job, andd the policy and administration. The modurate level of the satisfaction consisted of working conditions, interpersonnal relation, recognition, stability, salary and the advantages, and the success of the duty. 3. The library staffs of Burapha University Library had the modurate level of the difficulties and problems in the job performance such as the computer skill and handware using comprised using the administrtive software. The low level satisfaction of the difficulties and problems in the job performance consisted of the staffs, the good and clean setting, and the budgeten
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2550_001.pdf1.21 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น