กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12776
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภรดี พันธุภากร | |
dc.contributor.advisor | สันติ เล็กสุขุม | |
dc.contributor.author | ทนงศักดิ์ หาญวงษ์ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T06:44:11Z | |
dc.date.available | 2024-02-05T06:44:11Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12776 | |
dc.description | ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด. ) -- มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจด้านศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นเมืองพิมาย โดยมองผ่านพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมายปราสาทหินพิมายและเมืองพิมาย อีกทั้งยังศึกษาแนวทางการบริหารจัดการการสื่อความหมายของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ และ ปราสาทหินพิมายตามแนวทางบริหารจัดการแบบใหม่ คือ ศึกษาในส่วนการจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมายปรับปรุงแผ่นป้ายประจำโบราณสถาน เส้นทางท่องเที่ยวภายใน ปราสาทหินพิมาย และเมืองพิมาย ให้มีความเชื่อมโยงกันทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์และเส้นทาง การท่องเที่ยว ด้วยการสร้างเวทีความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยริเริ่มจัดแสดงแสงสี เสียง เรื่องพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 และเรื่องพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในชื่อเรื่อง "กงรักพรหมทัต" ในงาน เทศกาลท่องเที่ยวเมืองพิมายประจำปี พ.ศ. 2556-2558 ผลการวิจัยดังกล่าวข้างต้นพบว่า เมืองพิมาย เป็นเมืองโบราณสำคัญในระดับที่ครั้งหนึ่ง เคยเป็นเมืองหลวงที่ใช้ปกครองอาณาจักรเขมร ในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ต้นราชวงศ์ มหิธรปุระ พระองค์ทรงนับถือพระพุทธศาสนา โดยทรงสร้างปราสาทหินพิมายตั้งอยู่เป็น ศูนย์กลางเมืองเป็นปราสาทประจำรัชกาล และเป็นที่เคารพบูชาของชาวพุทธจนสิ้นรัชกาลของ พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เมื่อได้นำเสนอเรื่องพระเจ้าชัยวรมันที่ 6 ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ที่ชุมชนชาวพิมาย ให้รับรู้แพร่หลายยิ่งขึ้น ผลปรากฎว่าชุมชนมีความพึงพอใจที่ได้รับรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเรื่อง ท้าวพรหมทัต ผ่านตำนานพื้นบ้านเรื่องปาจิต-อรพิมมากขึ้นทำให้เกิดความภาคภูมิใจใน ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นอย่างชัดเจน และพร้อมที่จะให้ความร่วมมือกันส่งเสริมเผยแพร่ศิลปะและ วัฒนธรรมของชุมชน เพื่อให้เมืองพิมาย เป็นเมืองอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมที่อยู่ควบคู่กับวิถีชีวิต ต่อไป | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | ปราสาทหินพิมาย (นครราชสีมา) | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารศิลปะและวัฒนธรรม | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก | |
dc.subject | พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ | |
dc.title | พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพิมาย และปราสาทหินพิมาย : แนวทางใหม่ของการบริหารจัดการ | |
dc.title.alternative | Phimai national museum and prasat phimai: the new approach of cultural management | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the understanding of Phimai’s art and culture as well as local heritage via Phimai National Museum, Phimai temple and the city of Phimai. Besides, it also suggests new methods in which cultural management and museum exhibitions should be implemented through the introduction of new museum labels, tourist routes within Phimai temple and across the city. This needs are undertaken to link historical tales and narratives to tourist routes by establishing an understanding of local history through the annual festival at Phimai from 2013-2015, namely Jayavarman VI sound and light show including Kong RakPrommatat the Musical. It is discovered that Phimai was so important ancient city,once the centre of the Khmer Empire during the reign of King Jayavarman VI, the beginning of Mahidharapura Dynasty. Jayavarman VI was a Buddhist king who established Phimai temple as the centre of the city and the temple became his reign temple. Phimai temple had been revered by Buddhists until the end of King Jayavarman VII’s period. It is clear that people in Phimai have rarely been informed of Jayavarman VI because the authority at Phimai Historical Park has never made an effort to do so. However, the community in Phimai was more satisfied when they learnedabout local legendary figures like Tao Prommatat, the folktale of Tao Prajit and Nang Orapim. The locals were more apparently proud of their local history and ready to cooperate in supporting local art and culture in order to make Phimai being a culturally well-managed city that co-exists with the community in the future. | |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | |
dc.degree.discipline | การบริหารศิลปะและวัฒนธรรม | |
dc.degree.name | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 74.68 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น