กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12734
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยอดยิ่ง ธนทวี | |
dc.contributor.author | พีรภัทร ลีลาชัยภัทร | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-02-05T06:29:14Z | |
dc.date.available | 2024-02-05T06:29:14Z | |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12734 | |
dc.description | งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของปัจจัยภายในบริษัทต่อการถือเงินสดของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่มีการจดทะเบียนภายในปี พ.ศ. 2554 รวมทั้งสิ้น 383 บริษัท ประกอบด้วย 7 กลุ่มธุรกิจรวมทั้งสิ้น 1,141 ข้อมูล โดยไม่รวมถึงกลุ่มธุรกิจการเงิน ได้แก่ กลุ่มธนาคาร กลุ่มเงินทุนและหลักทรัพย์ กลุ่มประกันภัยและประกันชีวิต และไม่รวมถึงบริษัทจดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ โดยใช้การเก็บข้อมูลย้อนหลังจากข้อมูล งบการเงินของแต่ละบริษัทและเนื่องจากมีระยะเวลาในการทำการวิจัยที่จำกัด ทำให้ผู้วิจัยเก็บข้อมูลย้อนหลังจากข้อมูลงบการเงินของแต่ละบริษัทเป็นระยะเวลาเพียง 3 ปีเท่านั้น คือ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 ถึง พ.ศ. 2557 ซึ่งใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ2 ส่วน ด้วยกัน ได้แก่ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) ซึ่งในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงอนุมานนั้นได้ทำการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ของตัวแปร วิเคราะห์ความแตกต่างของการถือเงินสดของ 2 กลุ่มข้อมูลตัวอย่าง จำแนกตามตัวแปรอิสระที่แบ่งโดยค่าเฉลี่ยของตัวแปรนั้น ๆ โดยการทดสอบค่าเฉลี่ยแบบ 2 กลุ่มตัวอย่าง (Independent sample t-test) และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในบริษัทกับการถือครอง เงินสดโดยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression analysis) ผลจากการศึกษาพบว่า ตัวแปรปัจจัยภายในบริษัทที่มีผลการทบต่อการถือเงิน (Cash holding) ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ได้แก่ ขนาดของธุรกิจ (Size) เงินทุนหมุนเวียน (Networking capital: NWC) รายจ่ายลงทุน (Capital expenditure: CAPEX) และการใช้ประโยชน์จากหนี้สิน (Leverage: LEV) โดยที่ตัวแปรที่มีความความพันธ์กับการถือเงินสดในทิศทางบวก ได้แก่ ขนาดของธุรกิจ (Size) ส่วนตัวแปรมีความสัมพันธ์กับการถือเงินสดในทิศทางลบ ได้แก่ เงินทุนหมุนเวียน (Networking capital: NWC) รายจ่ายลงทุน (Capital expenditure: CAPEX) และการใช้ประโยชน์จากหนี้สิน (Leverage: LEV) | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | บริษัทมหาชน -- การบริหาร | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.subject | การจัดการเงินสด | |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในบริษัทกับการถือเงินสดของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | |
dc.title.alternative | Reltionship between internl orgniztion fctors nd csh holding of compnies registered in the stock exchnged of Thilnd | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The study attempts to study the impact of internal organization factors toward cash holding factors of 383 companies registered in the Stock Exchange of Thailand in 2011. They consist of seven business group and earned 1,141 pieces of data. The business group did not included financial group such as banking, investing and asset, and insurance and life insurance as the financial statement differed from general business groups and also excluded companies registered in MAI stock market. The historical data were collected from financial statements of each business. Because of the time constraint, the data could trace back for only three years, from 2012 to 2014. The statistic analysis could be divided into two parts: Descriptive statistics and Inferential statistics. For the latter, correlation analysis of variables, the analysis on the difference of cash holding of two groups classifying by the average means of each variables. Independent sample T-test, correlation analysis of internal organization variables and the cash holding could be analyzed with Multiple Regression Analysis technique. The findings reveal that internal organization factors affecting to cash holding of companies registered in the Stock Exchange of Thailand at the statistically significant level of 0.01. These factors were business size, Net working capital (NWC), Capital expenditure (CAPEX), and Leverage (LEV). The variables positively related with the cash holding were business size whilst the variables negatively correlated with the cash holding were Networking capital (NWC), Capital expenditure (CAPEX), and Leverage (LEV) and the variables positively correlated with the cash holding. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | บริหารธุรกิจ สำหรับผู้บริหาร | |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
56710171.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น