กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1271
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorอุไรวรรณ อินทมาโส
dc.contributor.authorสิทธิศักดิ์ เกตุขุนทด
dc.contributor.authorจันทรัตน์ ภูมิพื้นผล
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์
dc.date.accessioned2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.available2019-03-25T09:04:23Z
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1271
dc.description.abstractไวรัสตับอักเสบชนิดเอเป็นไวรัสที่สำคัญชนิดหนึ่งที่มักติดต่อสู่คนผ่านการบริโภคหอยนางรมสดในเขตชายฝั่งทะเลตะวันออก การตรวจหาไวรัสในหอยนางรมสดก่อนที่จะไปถึงมือผู้บริโภคสามารถมีประโยชน์ในเชิงป้องกันโรคได้ จากงานวิจัยนี้ได้นำเทคนิค RT-PCR-DNA-ELISA มาใช้ตรวจหาไวรัสตับอักเสบเอในหอยนางรมสด ที่เพาะเลี้ยงตามชายฝั่งทะเลในเชตจังหวัดชลบุรี ระยอง และจันทบุรี โดยสกัดสารพันธุกรรมของไวรัสด้วยวิธี Glycine-Arginine-PEG ก่อนำมาขยายเพิ่มจำนวนด้วย primers ที่ออกแบบผลการทดลองพบว่า RE-PCR มีความไวในการตรวจหาสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสตับอักเสบเอบริสุทธิ์ที่ 3.188 ng และเชื้อไวรัสตับอักเสบเอที่ปนเปื้อนจำลองในหอยนางรมสดที่ 2.4x10 2 PFU ต่อหอยนางรมสด 1.5 กรัม หรือเท่ากับ 160 PFU/g ขณะที่เทคนิค DNA ELISA สามารถเพิ่มความไวของวิธี RT-PCR ในการตรวจสอบสารพันธุกรรมของไวรัสได้ประมาณ 100 เท่า และ 10 เท่า ตามลำดับ เมื่อนำวิธี RE-PCR-DNA-ELISA มาใช้ทดสอบตัวอย่างหอยนางรมธรรมชาติ พบว่า มีการปรากฎเพียงแถบ smear บน agarose แทนการปรากฏของ DNA band ที่มีขนาดตามที่คาดหวังไว้ แต่เมื่อยืนยันความจำเพาะด้วยเทคนิค DNA-ELISA พบว่า ผลผลิตของ RE-PCR บางตัวอย่างให้ผลเป็นบวก จากผลการทดลองทั้งหมดชี้ว่าวิธี DNA-ELISA สามารถเพิ่มความไวและความจำเพาะของเทคนิค RT-PCRในการตรวจสอบสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสตับอักเสบเอได้ ดังนั้นวิธีนี้น่าจะสามารถนำมาพัฒนาเป็นชุดทดสอบพร้อมใช้สำหรับผู้บริโภคและผู้ประกอบการเพื่อใช้ในการตรวจหาไวรัสตับอักเสบชนิดเอที่ปนเปื้อนในหอยนางรมสดในธรรมชาติได้th_TH
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ที่เป็นเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ลักษณะงานวิจัยและพัฒนาถ่ายทอดเทคโนโลยี งบประมาณ ปี 2555
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะสหเวชศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพาth_TH
dc.subjectการปนเปื้อนth_TH
dc.subjectไวรัสตับอักเสบชนิดเอth_TH
dc.subjectหอยนางรมth_TH
dc.titleการพัฒนาวิธีการตรวจสอบการปนเปื้อนของไวรัสตับอักเสบชนิดเอในหอยนางรมที่เพาะเลี้ยงในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of detection of hepatitis A viruses in oysters cultured in the eastern coast of thailanden
dc.typeงานวิจัย
dc.year2556
dc.description.abstractalternativeHepatitis A virus (HAV) is one important viruses that infect people via consuming fresh oysters in the East coast of Thailand. The detection of fresh oysters prior to selling consumers is considered to provide protection against diseases. In this study, RT-PCR was performed to detect HAV in fresh oysters cultured along the Eastern coast in Chon buri, Rayong and Chanthaburi province of Thailand. Viral nucleic acid was extracted via Glycine-Arginine- PEG method and then amplified with the designed primers by RT-PCR. The result showed that RT-PCR method had the sensitivity in the detection of purified HAV RNA genome as 3.188 ng or artificially contaminated oysters as 2.4x 10 2 PFU/1.5 gram oyster or 160 PFU/g while DNA-ELISA can further increase the sensitivity of RT-PCR method about 100 fold and 10 fold, respectively. RT-PCR-DNA-ELISA was also used to detect geneticmaterial of HAV in oysters cultured in nature. The result showed smear band appeared on an agarose gel rather than the expected DNA. band. However when confirmed the specificity of RT-PCR products by DNA-ELISA, some of those were positive. These results indicated that DNA-ELISA can enhance both sensitivity and specificity of RT-PCR in the detection of HAV genetic material. Thus, it may be developed as a ready-to-use kit for consumers or entrepreneurs in the detection of HAV in naturally contaminated oysters.en
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม ขนาดรูปแบบ 
2566_033.pdf1.47 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น