กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12661
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรากร ทรัพย์วิระปกรณ์ | |
dc.contributor.advisor | ประชา อินัง | |
dc.contributor.author | สมร สามารถ | |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-25T08:46:54Z | |
dc.date.available | 2024-01-25T08:46:54Z | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12661 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎี การปรับพฤติกรรมทางปัญญาต่อการกำกับอารมณ์ของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดชลบุรี จำนวน 14 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 7 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบมาตรวัดการกำกับอารมณ์ตนเอง และโปรแกรมการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการปรับพฤติกรรมทางปัญญา ดำเนินการทดลอง จำนวน 12 ครั้ง ๆ ละ 60 นาที วัดผลการทดลอง 3 ระยะ คือ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล วิเคราะห์ผลการวิจัยด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีบอนเฟอร์โรนี่ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลอง มีคะแนนการกำกับอารมณ์แตกต่างจากกลุ่มควบคุมทั้งในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุ่มทดลอง มีคะแนนการกำกับอารมณ์ ในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.rights | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
dc.subject | การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม | |
dc.subject | อารมณ์ -- การควบคุมคุณภาพ | |
dc.subject | Humanities and Social Sciences | |
dc.subject | สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดชลบุรี | |
dc.subject | การปรับพฤติกรรม | |
dc.subject | เด็กและเยาวชน -- การปรับพฤติกรรม | |
dc.subject | มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาจิตวิทยาการให้การปรึกษา | |
dc.title | ผลการให้การปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีการปรับพฤติกรรมทางปัญญาต่อการกำกับอารมณ์ของเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดชลบุรี | |
dc.title.alternative | The effects of cognitive behvior of group counseling on emotion regultion of Chon Buri Juvenile Delinquency t the Observtion nd Protection Center | |
dc.type | วิทยานิพนธ์/ Thesis | |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study were to study the effects of cognitive behavior of group counseling on emotion regulation of Chon Buri Juvenile Delinquency at the Observation and Protection center. The subjects comprised 14 people who were selected by the use of stratified sampling technique. They were assigned into the experimental group and the control group. Each group comprised of seven childent. The instruments used to collect the data were the measurement test of emotion regulation behavior and cognitive behavior modification group counseling. The intervention was administered for 12 sessions. Each session lasted sixty minutes. The research design was two-factor experimental with repeated measures on one factor. The study was divided into 3 phases: the pre-test phase, the post-test phase and the follow-up phase. The data was then analyzed by repeated measures analysis of variable: one between-subjects variable and one within-subjects variable followed by paired-different test by Bonferroni Procedure. The results of the study indicated that there were statistically significant differences. It were also found in the method applied toward the five percepts among the duration of the experiment at a significant level of .05. The level of the emotion regulation behavior modification of the students in the experimental and the control group were significant different in the five percepts when measured in the post-test and the follow-up phases. The level of the emotion regulation behavior of the student in the experimental group of the post-test and the follow-up phases were significant different in the five percepts from those in the pre-test phase. | |
dc.degree.level | ปริญญาโท | |
dc.degree.discipline | จิตวิทยาการให้การปรึกษา | |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยบูรพา | |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | วิทยานิพนธ์ (Theses) |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | 11.64 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น